Table of Contents Table of Contents
Previous Page  94 / 254 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 94 / 254 Next Page
Page Background

3. จงใส่เครื่องหมายถูก (√) หน้าข้อความที่ถูกต้อง ใส่เครื่องหมายผิด (×) หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง

และขีดเส้นใต้เฉพาะคำ� หรือส่วนของข้อความที่ไม่ถูกต้อง และแก้ไขข้อความโดยตัดออก

หรือเติมคำ�หรือข้อความที่ถูกต้องลงในช่องว่าง

ระบบหายใจของมนุษย์

�������3.1 บริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊สที่ปอดของมนุษย์คือถุงลม

�������3.2 ท่อลม หลอดลม และหลอดลมฝอยส่วนต้นของระบบหายใจมีกระดูกอ่อนค้ำ�จุน

เพื่อป้องกันการแฟบของท่อ

�������3.3 ถ้ากะบังลมทะลุจะทำ�ให้การหายใจเข้าและหายใจออก

ลึก

แก้ไขเป็น

ตื้น (ได้รับอากาศน้อยกว่าปกติ)

�������3.4 ขณะหายใจปกติความดันและปริมาตรของอากาศภายในปอดมีการเปลี่ยนแปลง

ซึ่งเกิดจากการทำ�งานของกล้ามเนื้อกะบังลมและ

กล้ามเนื้อหน้าท้อง

แก้ไขเป็น

กล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่โครงแถบนอก

�������3.5 ในการหายใจเข้า กะบังลมเคลื่อนที่ต่ำ�ลงจากการหดตัวของกล้ามเนื้อกะบังลม

และกระดูกซี่โครงยกสูงขึ้นจากการหดตัวของกล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่โครง

แถบนอก ทำ�ให้ปริมาตรในช่องอกเพิ่มขึ้น ความดันภายในปอดลดลง

�������3.6 ในการหายใจออกอย่างแรง (forced breathing) จะมีการหดตัวของกล้ามเนื้อ

หน้าท้องและกล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่โครงแถบในมาทำ�งานร่วมกัน

�������3.7 การหายใจเข้าและการหายใจออกเกิดขึ้นได้อย่างเป็นจังหวะสม่ำ�เสมอทั้งในยาม

หลับและตื่น เนื่องจากการควบคุมของสมองส่วน

ไฮโพทาลามัส

แก้ไขเป็น

พอนส์และเมดัลลาออบลองกาตา

�������3.8 การกลั้นหายใจขณะดำ�น้ำ� ส่วนของสมองที่ทำ�หน้าที่เพิ่มขึ้นคือเซรีบรัลคอร์เทกซ์

และไฮโพทาลามัส

�������3.9 การหายใจช่วยรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในร่างกายโดยการขับ CO

2

ออก

�������3.10 ภายในปอดของผู้ป่วยที่เป็นโรคปอดบวมซึ่งมีของเหลวในถุงลมเพิ่มขึ้นจะมีพื้นที่

ผิวสำ�หรับการแลกเปลี่ยนแก๊สลดลง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 14 | ระบบหายใจ

ชีววิทยา เล่ม 4

82