Table of Contents Table of Contents
Previous Page  96 / 254 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 96 / 254 Next Page
Page Background

5.1 ถ้า A แทนกระดูกสันหลังและ B แทนกระดูกอก (sternum) เส้นยาง R1 และ R2 แทน

โครงสร้างใด

เส้นยาง R1 แทนกล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่โครงแถบนอก และเส้นยาง R2 แทนกล้าม

เนื้อระหว่างกระดูกซี่โครงแถบใน

5.2 การหดตัวของเส้นยาง R1 เทียบได้กับการทำ�ให้เกิดการหายใจเข้าหรือการหายใจออก

การหายใจเข้า

6. กราฟแสดงปริมาตรของอากาศในปอดขณะหายใจเข้าและหายใจออกปกติ และขณะหายใจ

เข้าและหายใจออกเต็มที่ของมนุษย์ จากกราฟที่ลูกศรชี้ ( ) กล้ามเนื้อกะบังลมและ

กล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่โครงแถบนอกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร และจะส่งผลอย่างไร

กล้ามเนื้อกะบังลมหดตัวทำ�ให้กะบังลมเคลื่อนที่ลง กล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่โครงแถบ

นอกหดตัวทำ�ให้กระดูกซี่โครงยกสูงขึ้น ส่งผลให้ปริมาตรในช่องอกเพิ่มขึ้น ความดันอากาศ

ภายในปอดลดลง ทำ�ให้อากาศภายนอกไหลเข้าสู่ปอด เกิดการหายใจเข้า

1,000

0

1,200

2,000

2,400

2,900

3,000

4,000

5,000

6,000

5,800

ปริมาตรของอากาศในปอด (mL)

เวลา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 14 | ระบบหายใจ

ชีววิทยา เล่ม 4

84