ดังนั้น จีโนไทป์ของสามีภรรยาคู่แรกจึงเป็น X
H
X
h
และ X
H
Y
8.2 ลูกของลูกสาวที่แสดงอาการเกิดโรคฮีโมฟิเลียคือลูกชายหรือลูกสาว และจีโนไทป์ของ
ลูกคนดังกล่าวเป็นอย่างไร
ลูกที่แสดงอาการเกิดโรคฮีโมฟิเลียคือ ลูกชายซึ่งมีจีโนไทป์เป็น X
h
Y
แนวการคิด
ลูกที่เกิดจากแม่ที่เป็นพาหะ และพ่อที่เป็นปกตินั้น จะมีเพียงลูกชาย
เท่านั้นที่แสดงอาการเกิดโรค เนื่องจากมีโอกาสที่จะได้รับแอลลีล X
h
จากแม่ และจะ
แสดงอาการของโรคแม้จะมีแอลลีล X
h
เพียงแอลลีลเดียวก็ตาม ในขณะที่ลูกสาวจะ
เป็นโรคฮีโมฟิเลียได้ก็ต่อเมื่อได้รับแอลลีล X
h
จากทั้งพ่อและแม่ทั้งสองคน
8.3 ถ้าลูกชายของสามีภรรยาคู่แรกแต่งงานกับผู้หญิงที่เป็นโรคฮีโมฟิเลียในบรรดาลูกชาย
ที่เกิดมาจะมีโอกาสเป็นโรคนี้ร้อยละเท่าใด
ลูกชายจะแสดงอาการของโรคร้อยละ 100
แนวการคิด
เนื่องจากลูกชายจะได้รับโครโมโซม X จากแม่ และโครโมโซม Y จากพ่อ
เมื่อแม่เป็นโรคฮีโมฟิเลียลูกชายทุกคนจึงได้รับแอลลีล X
h
ที่ควบคุมลักษณะเกิดโรค
จากแม่มาด้วย ดังนี้
หญิงเป็นโรค
ลูกชายเป็นโรค
ชายปกติ
X
h
X
h
X
H
X
h
X
H
Y
X
h
Y
×
X
H
Y
X
H
Y
X
H
Y
X
H
X
h
X
H
X
h
X
h
Y
X
H
Y
/
X
H
X
H
/
X
H
X
h
I
II
III
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 5 | การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ชีววิทยา เล่ม 2
130