การศึกษาความรู้พื้นฐานของคีมจับเชิงแสงและการประยุกต์ใช้
ชื่อผู้ทำโครงงาน
ยศวรรณ นวลละออ
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ดร.ณัฐพร ฉัตรแถม
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
จากการศึกษาความรู้พื้นฐานของคีมจับเชิงแสง (optical tweezer) สามารถแบ่งหลักการทำงานของคีมจับเชิงแสงได้เป็น 2 ลักษณะ โดยพิจารณาจากขนาดอนุภาคที่จะจับ ( ) และความยาวคลื่นแสงที่จะใช้จับอนุภาคนั้น ( ) ในกรณีที่ความยาวคลื่นแสงมีค่าน้อยกว่าขนาดอนุภาค ( ) จะใช้ทฤษฎีทางแสงและการประพฤติตัวเป็นอนุภาคของแสงมาอธิบาย ส่วนในกรณีที่อนุภาคมีขนาดเล็กกว่าความยาวคลื่นแสงนั้น ( ) จะพิจารณาอนุภาคเป็นไดโพลไฟฟ้าเล็กๆในสนามไฟฟ้า ผู้วิจัยทำการศึกษาผลงานของ Peter J. Pauzauskie และคณะ ในการนำคีมจับเชิงแสงไปประยุกต์ใช้ในการทำให้เกิดการรวมกันของลวดนาโนในน้ำ ซึ่งตีพิมพ์ในวารสาร Nature materials กุมภาพันธ์ ปี 2006
คำสำคัญ
พื้นฐาน,คีม,เชิง,แสง
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
ยศวรรณ นวลละออ
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5640 การศึกษาความรู้พื้นฐานของคีมจับเชิงแสงและการประยุกต์ใช้ /index.php/project-all/item/5640-2016-09-09-03-39-41-5640เพิ่มในรายการโปรด