การตรวจสอบคุณสมบัติยางธรรมชาติที่ถูกปรับปรุงด้วยพอลิเมทาคริเลต โดยเครื่องมืออะตอมมิกฟอสไมโครสโครปี
ในปัจจุบันนี้มีการสนใจที่จะศึกษาคุณสมบัติของพื้นผิวในระดับนาโนเมตรมากขึ้น ดังนั้นเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบจึงมีบทบาทสำคัญ และอะตอมมิกฟอสไมโครสโครปีเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่สามารถใช้ในการทดสอบคุณสมบัติดังกล่าว ยางธรรมชาติที่ถูกปรับปรุงพื้นผิวด้วยพอลิเมทิลเมทาคริเลตโดยการทำให้เกิดโครงสร้างร่างแหแบบสอดประสานเป็นตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาพื้นผิวด้วยวิธีการคอนแทค ซึ่งสามารถศึกษาสมบัติเชิงกลได้ จากกราฟพบว่าบริเวณพิ้นผิวมีค่าแรงดึงดูดน้อยกว่าและมีความชันมากกว่าที่บริเวณอื่นๆ อธิบายได้ว่าที่บริเวณพื้นผิวมีค่าโมดูลัสมากกว่าบริเวณอื่น เนื่องจากที่ผื้นผิวนั้นถูกปรับปรุงด้วยพอลิเมทิลเมทาคริเลต และยางธรรมชาติที่ถูกปรับปรุงพื้นผิวด้วยพอลิเมทิลเมทาคริเลตโดยการติดอนุภาคด้วยเทคนิคการเคลือบผิวทีละชั้นเป็นตัวอย่างที่ใช้ในการวัดความเสียดทานด้วยวิธีการแลทเทอรอล จากการศึกษาพบว่าแรงเสียดทานขึ้นกับความเร็วในการเคลื่อนที่ของตัวอย่างและแรงกดของเข็ม โดยเมื่อเพิ่มปริมาณพอลิเมทิลเมทาคริเลตในยางธรรมชาติ แรงเสียดทานจะเพิ่มมากขึ้น ------------------------------------------------------------ At present, there is an increasing interest to study the properties of materials at nanoscale. Therefore, devices used to investigate surface properties of materials at nanoscale play an important role on these studies. The atomic force microscope (AFM) is one of the foremost tools for manipulation of matters with nanometer resolution. Because of AFM’s versatility, it has been applied to a large number of research topics. We have studied the sample surface by using atomic force microscope (AFM) under contact mode and lateral force microscope (LFM). Firstly, the specimen surface is natural rubber (NR) latex sheet modified by polymerization of poly(methyl methacrylate) (PMMA). In contact mode, force curves was acquired and used to study mechanical properties of sample surface. The pull-off force, which corresponds to adhesion force, and the slope value was obtained from this force curve. At the surface area, the pull-off force was lower and the slope values was steeper than those of other areas. This shows that the Young’s modulus value is maximum at the surface area due to surface modification by poly(methyl methacrylate)(PMMA).Secondly,we are interested in measuring friction force on the specimen surface by using a special feature known as lateral force microscopy (LFM). The sample surface used in this part is natural rubber (NR)latex film modified by deposition of poly (methyl methacrylate)(PMMA) particles via layer-by-layer(LBL) technique.The results show that friction depends on scan rate and normal force. Therefore, optimized condition has been investigated. We have found that friction force increases when quantity of PMMA on surface increases.
-
6253 การตรวจสอบคุณสมบัติยางธรรมชาติที่ถูกปรับปรุงด้วยพอลิเมทาคริเลต โดยเครื่องมืออะตอมมิกฟอสไมโครสโครปี /index.php/project-all/item/6253-2016-09-09-03-48-50-6253เพิ่มในรายการโปรด