การใช้อนุพันธ์ของ C60 เป็นตัวยับยั้งไวรัส: ศึกษาโดยวิธีด็อกกิ้งแบบแข็งเกร็งและยืดหยุ่น
ชื่อผู้ทำโครงงาน
ธีรพงศ์ ไพโรจน์ศิริกุล
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ประวิทย์ สุดแก้ว, วรรณจันทร์ แสงหิรัญ ลี
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
เคมี
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
โมเลกุลาร์ด็อกกิ้งถูกนำมาใช้ศึกษาอันตรกิริยาระหว่างอนุพันธ์ของฟุลเลอรีนและเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการเติบโตของไวรัส 3 ชนิดคือ HIV-1, SARS-CoV and H5N1 โดยเลือกอนุพันธ์ของฟุลเลอรีน 9 ชนิดที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งไวรัสมาด็อกกับเอนไซม์เหล่านี้โดยใช้โปรแกรมAutodock 3.0.5 และ CAChe6.1 สำหรับการด็อกแบบแข็งเกร็ง-ยืดหยุ่นและการด็อกแบบยืดหยุ่น-ยืดหยุ่นตามลำดับ ค่าพลังงานการยึดจับคำนวณโดยใช้ Autodock อยู่ในช่วง -8.27 ถึง -21.63 kcal/mol และค่า PMF scores คำนวณโดยใช้ CAChe อยู่ในช่วง -156.09 ถึง -555.10 kcal/mol ค่าพลังงานดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความน่าจะเป็นในการใช้อนุพันธ์ของฟุลเลอรีน เป็นตัวยับยั้ง HIV-1, SARS-CoV and H5N1 โดยที่อนุพันธ์ของฟุลเลอรีนที่ยึดจับกับ HIV-1, SARS-CoV and H5N1 ได้มีประสิทธิภาพคือ อนุพันธ์ของฟุลเลอรีนหมายเลข 1 และ 7
คำสำคัญ
อนุพันธ์,C60,ไวรัส,ด็อก,กิ้ง,แข็ง,เกร็ง,ยืด,หยุ่น
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
ธีรพงศ์ ไพโรจน์ศิริกุล
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5536 การใช้อนุพันธ์ของ C60 เป็นตัวยับยั้งไวรัส: ศึกษาโดยวิธีด็อกกิ้งแบบแข็งเกร็งและยืดหยุ่น /index.php/project-biology/item/5536-c60เพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (75080)
ให้คะแนน
การค้นคว้าแบบอิสระเชิงปริญญานิพนธ์ เรื่อง บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ฟอร์มผลึก เป็น ...
Hits (78617)
ให้คะแนน
โครงงานนี้ทำการสังเคราะห์ตัวตรวจจับแอนไอออน ชนิด heteroditopic receptor ที่มีชื่อว่า “ferrocene ...
Hits (71039)
ให้คะแนน
ศึกษาอนุกรมวิธานพืชวงศ์ขิง ในเขตอุทยานแห่งชาติภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2549 ...