|
|
ปีที่ 8 | ฉบับที่ 5 | วันที่ 15 มีนาคม 2554
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
อากาศแปรปรวน รักษาสุขภาพ พักผ่อนอ่าน SciInfoNet NEWS อยู่กับบ้าน และพบกับเนื้อหาเต็มๆ ของแต่ละบทความด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ได้ที่ห้องสมุด สสวท. หากท่านเห็นว่า SciInfoNet NEWS จะเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ขอท่านส่งต่อ และ/หรือ แนะนำให้สมัครเป็นสมาชิก โดยกรอกรายละเอียดลงในแบบฟอร์มใบสมัคร ซึ่งสามารถ download ได้ที่ Memberships แล้วส่งกลับมายัง This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. และเช่นเคย หากท่านมีข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะใด ๆ โปรดส่งมายังโครงการ เพื่อจะได้ปรับปรุงให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป |
|
|
|
|
|
|
|
สารคดี
|
Advanced Thailand Geographic
|
Chip
|
Computer Today
|
Eworld
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ปีที่ 26, ฉบับที่ 311 มกราคม 2554
|
ปีที่ 16, ฉบับที่ 127 2553
|
ปีที่ 10, ฉบับที่ 1 มกราคม 2554
|
ปีที่ 20, ฉบับที่ 398 ปักษ์หลัง มกราคม 2554
|
ฉบับที่ 2011-01 มกราคม 2554
|
|
|
|
BioScience
|
Discover
|
Education in Science
|
Gifted Child
|
Mathematics in School
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
Vol.61, No.1 January 2011
|
January/ February 2011
|
No.240 November 2010
|
Vol.55, No.1 Winter 2011
|
Vol.40, No.1 January 2011
|
|
|
|
NewScientist
|
Physics Today
|
Scientific American
|
Tech & Learning
|
Time
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
Vol.209, No.2795 15 January 2011
|
Vol.64, No.1 January 2011
|
Vol.304, No.1 January 2011
|
Vol.31, No.6 January 2011
|
Vol.177, No.3 24 January 2011
|
|
|
|
Time
|
|
|
|
Vol.177, No.4 31 January 2011
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
หมอชาวบ้าน (ปีที่ 32, ฉบับที่ 382, กุมภาพันธ์ 2554, pp.2-3)
|
ชื่อบทความ:
|
4 อ. บำรุงสุขภาพสมอง (หัวใจและจิตใจ) |
ผู้แต่ง:
|
สุรเกียรติ อาชานานุภาพ |
สาระการเรียนรู้:
|
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สาระ 1,2 ทุกช่วงชั้น |
คำสำคัญ:
|
การดูแลสุขภาพ / การบำรุงสมอง / การบำรุงหัวใจ / การออกกำลังกาย |
สรุปเนื้อหา:
|
โรคหัวใจเป็นโรคที่ทำให้เสียชีวิตอย่างฉับพลัน การป้องกันโรคหัวใจ (หลอดเลือดหัวใจตีบ) พึงปฏิบัติให้ถูกต้องในเรื่อง “4 อ.” ได้แก่ 1. อาหาร : หมั่นกินผัก ผลไม้ เครื่องเทศ และ เมล็ดธัญพืช เช่น ข้าว ข้าวโพด ถั่ว ลูกเดือย โดยกินเมล็ดธัญพืชและกล้วย ซึ่งให้แคลอรี่ รวมประมาณวันละ 1 กิโลกรัม และกินผักผลไม้ที่ไม่หวาน (ไม่ให้พลังงาน) วันละประมาณ ครึ่งกิโลกรัมเป็นอย่างน้อย ควรกินผลิตภัณฑ์จากปลา |
|
>>อ่านต่อ>> |
|
|
|
หมอชาวบ้าน (ปีที่ 32, ฉบับที่ 382, กุมภาพันธ์ 2554, pp.22-25)
|
ชื่อบทความ:
|
ภาวะตัวเย็นเกิน |
ผู้แต่ง:
|
สุรเกียรติ อาชานานุภาพ |
สาระการเรียนรู้:
|
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สาระ 1,2 ทุกช่วงชั้น |
คำสำคัญ:
|
การดูแลสุขภาพ / การปฐมพยาบาล / ภาวะตัวเย็นเกิน / สาเหตุ / อาการ / Hypothermia |
สรุปเนื้อหา:
|
อากาศที่หนาวจัดอาจเป็นต้นเหตุทำให้คนตายได้ ภาวะตัวเย็นเกิน (Hypothermia) เป็นภาวะที่ร่างกายมีอุณหภูมิต่ำเกิน เป็นผลจากการสัมผัสถูกความหนาวเย็น เช่น อยู่ในอากาศหนาว หรือแช่ในน้ำที่เย็นจัด ทำให้อุณหภูมิของร่างกายลดต่ำกว่า 35 องศาเซลเซียส |
|
>>อ่านต่อ>> |
|
|
|
หมอชาวบ้าน (ปีที่ 32, ฉบับที่ 382, กุมภาพันธ์ 2554, pp.26-28)
|
ชื่อบทความ:
|
การดูแลสุขภาพตา |
ผู้แต่ง:
|
ศักดิ์ชัย วงศ์กิตติรักษ์ |
สาระการเรียนรู้:
|
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สาระ 1,2 ทุกช่วงชั้น |
คำสำคัญ:
|
การดูแลสุขภาพ / ตา / โรคตา |
สรุปเนื้อหา:
|
เด็กอาจมีปัญหาสุขภาพตาเช่นเดียวกับผู้ใหญ่ได้ เช่น โรคต้อกระจก ต้อหิน สายตาสั้น สายตายาว และสายตาเอียง ดังนั้นกรณีต่อไปนี้อาจต้องสงสัยว่าเด็กจะมีปัญหาเรื่องการมองเห็น เช่น เด็กอายุ 2 - 3 เดือนขึ้นไป ยังไม่ตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม คล้ายมองไม่เห็น |
|
>>อ่านต่อ>> |
|
|
|
หมอชาวบ้าน (ปีที่ 32, ฉบับที่ 382, กุมภาพันธ์ 2554, pp.26-28)
|
ชื่อบทความ:
|
โยเกิร์ต ทำเองก็ได้...ง่ายจัง! |
ผู้แต่ง:
|
ศศิอำไพ พฤฒิพรธานี และ รัตนา วัฒนาไพศาลตระกูล |
สาระการเรียนรู้:
|
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สาระ 1,2 ทุกช่วงชั้น |
คำสำคัญ:
|
กรดแล็กติก / จุลินทรีย์ / โยเกิร์ต / แล็กโทบาซิลลัส บูลการิคัส / สเตร็ปโตค็อกคัส เทอร์โมฟิลัส / อาหารสุขภาพ / Lactobacillus bulgaricus / Streptococcus thermophilus |
สรุปเนื้อหา:
|
โยเกิร์ตแตกต่างจากนมสดก็ตรงที่มีเชื้อจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดกระบวนการหมักซึ่งจะเปลี่ยนน้ำตาลแล็กโทสในนมเป็นกรดแล็กติก ทำให้นมมีภาวะเป็นกรด มีลักษณะข้นเป็นลิ่มและมีรสเปรี้ยว โยเกิร์ตเป็นอาหารสุขภาพ เชื้อที่เป็นหัวใจสำคัญในการทำโยเกิร์ตมี 2 ชนิดคือ |
|
>>อ่านต่อ>> |
|
|
|
หมอชาวบ้าน (ปีที่ 32, ฉบับที่ 382, กุมภาพันธ์ 2554, pp.30-33)
|
ชื่อบทความ:
|
โรคพาร์กินสัน |
ผู้แต่ง:
|
อัครวุฒิ วิริยเวชกุล |
สาระการเรียนรู้:
|
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สาระ 1 ทุกช่วงชั้น |
คำสำคัญ:
|
ซับสเตนเชีย ไนกรา / โดพามีน / โรคทางพันธุกรรม / โรคพาร์กินสัน Dopamine / Parkinson’s disease / Substantia Nigra |
สรุปเนื้อหา:
|
โรคพาร์กินสัน(Parkinson’s disease) เป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของระบบประสาท โดยเฉพาะส่วนที่ผลิตสารควบคุมการเคลื่อนไหว หรือที่เรียกว่า สารโดพามีน (Dopamine) มักพบในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป อาการสำคัญของโรคคือ |
|
>>อ่านต่อ>> |
|
|
จดหมายข่าว โครงการเครือข่ายสารสนเทศวิทยาศาสตร์สู่สถาบันการศึกษา จัดทำโดย สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) 924 ถนนสุขุมวิท คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2392 4021-9 ต่อ 3306 โทรสาร 0 2712 3758
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|