|
ปีที่ 9 | ฉบับที่ 24 | วันที่ 31 ธันวาคม 2555
|
|
|
|
|
|
|
|
ปีเก่าผ่านไป ขอให้สิ่งดีๆ มาเยือนสมาชิกทุกท่านในปีใหม่ 2556 นี้ และเช่นเคยพบกับบทความเต็มใน SciInfoNet NEWS ได้ที่ห้องสมุด สสวท. ในเวลาราชการ หากท่านเห็นว่า SciInfoNet NEWS จะเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ขอท่านส่งต่อ และ/หรือ แนะนำให้สมัครเป็นสมาชิก โดยกรอกรายละเอียดลงในแบบฟอร์มใบสมัคร ซึ่งสามารถ download ได้ที่ Memberships แล้วส่งกลับมายัง This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. และเช่นเคย หากท่านมีข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะใด ๆ โปรดส่งมายังโครงการ เพื่อจะได้ปรับปรุงให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป |
|
|
|
|
|
วารสาร การศึกษาไทย |
Business+ |
Chip |
Computer Today |
Creative & Idea Kaizen |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
ปีที่ 9, ฉบับที่ 93 กรกฎาคม 2555 |
ฉบับที่ 284 ตุลาคม 2555 |
ปีที่ 11, ฉบับที่ 9 กันยายน 2555 |
ปีที่ 22, ฉบับที่ 438 ปักษ์แรก ตุลาคม 2555 |
ปีที่ 7, ฉบับที่ 73 ตุลาคม 2555 |
|
|
for Quality |
UpDate |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
ปีที่ 19, ฉบับที่ 180 ตุลาคม 2555 |
ปีที่ 27, ฉบับที่ 300 ตุลาคม 2555 |
|
|
The American Biology Teacher |
American Scientist |
BioScience |
Chem 13 News |
Chemistry in Australia |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
Vol.74, No.8 October 2012 |
Vol.100, No.3 May- June 2012 |
Vol.62, No.9 September 2012 |
No.393 October 2012 |
October 2012 |
|
|
Chemistry World |
Gifted Child |
Mathematics Teacher |
Mathematics Teaching in the Middle School |
National Geographic |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
Vol.9, No.10 October 2012 |
Vol.56, No.4 Fall 2012 |
Vol.106, No.3 October 2012 |
Vol.18, No.3 October 2012 |
Vol.74, No.8 October 2012 |
|
|
NewScientist |
Physics Today |
J. of Research in Science Teaching |
Science & Children |
Science & Education |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
Vol.215, No.2884 29 September 2012 |
Vol.65, No.10 October 2012 |
VV MM |
VV MM |
Vol.21, No.10 October 2012 |
|
|
Int. J. of Science Education |
Int. J. of Science Education Part B |
Int. J. of Science Education Part B |
Science Scope |
Science Teacher |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
Vol.34, No.13-14 September 2012 |
Vol.2, No.1 March 2012 |
Vol.2, No.2 September 2012 |
Vol.36, No.2 October 2012 |
Vol.79, No.7 October 2012 |
|
|
Teaching Children Mathematics |
Teaching Children Mathematics |
Tech & Learning |
Technology and Engineering Teacher |
Time |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
Vol.19, No.3 October 2012 |
Vol.19, No.2 September 2012 |
Vol.33, No.3 October 2012 |
Vol.72, No.2 October 2012 |
Vol.180, No.16 15 October 2012 |
|
|
Time |
|
|
สารบัญ |
Vol.180, No.17 22 October 2012 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
วารสาร |
จุลสารข้อมูลสมุนไพร (ปีที่ 30, ฉบับที่ 1, ตุลาคม 2555, pp.2-11) |
ชื่อบทความ: |
ลำไย |
ผู้แต่ง: |
อรัญญา ศรีบุศราคัม |
สาระการเรียนรู้: |
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระ 1 ช่วงชั้น 4 |
คำสำคัญ: |
คุณค่าทางโภชนาการ / เมล็ด / ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา / ลำไย / สรรพคุณ / สารต้านอนุมูลอิสระ / Longon |
สรุปเนื้อหา: |
ลำไย หรือ longan จัดเป็นพืชอยู่ในวงศ์ Sapindaceae มีชื่อวิทยาศาสตร์ คีอ Dimocarpus longan Lour. มีคุณประโยชน์ในทางยาหรือฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา คือ ฤทธิ์แก้ปวด ฤทธิ์ลดการอักเสบ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านมะเร็ง ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส ฤทธิ์เพิ่มความจำ ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย ฤทธิ์ต้านเชื้อรา ฤทธิ์รักษาริดสีดวงทวาร ฤทธิ์ต้านการเป็นพิษต่อตับ ฤทธิ์ลดความวิตกกังวล และฤทธิ์ลดน้ำหนัก สารสกัดจากเมล็ดลำไย มีศักยภาพที่จะนำไปพัฒนาเป็นสารต้านอนุมูลอิสระจากธรรมชาติ และประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องสำอาง และยาได้ แต่ยังต้องมีการศึกษาวิจัยในคนเพิ่มเติม เพื่อให้ทราบถึงขนาด วิธีใช้ และความปลอดภัยในการใช้ |
|
|
วารสาร |
Micro Computer (ปีที่ 30, ฉบับที่ 328, พฤศจิกายน 2555, pp.108-110) |
ชื่อบทความ: |
Adobe Edge เครื่องมือพัฒนาเว็บและแอปชุดใหม่จาก Adobe |
ผู้แต่ง: |
สุธีร์ นวกุล |
สาระการเรียนรู้: |
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระ 4 ช่วงชั้น 4 |
คำสำคัญ: |
แอนิเมชั่น / โปรแกรมพัฒนาเว็บ / โปรแกรมพัฒนาแอป / Adobe Edge / Animation |
สรุปเนื้อหา: |
จากการที่ Adobe ยกเลิกการพัฒนา Flash จึงได้ออกเครื่องมือพัฒนาเว็บและแอปชุดใหม่ชื่อ Adobe Edge เพื่อพัฒนา HTML5 ประกอบด้วยเครื่องมือในชุดจำนวน 7 ตัว ได้แก่ 1. Edge Animate - ใช้สำหรับสร้างการโต้ตอบและข้อมูลแอนิเมชั่น โดยใช้ HTML, CSS และ JavaScript ข้อมูลที่ได้สามารถสร้างให้ทำงานได้ทุกเบราเซอร์ อุปกรณ์พกพา และมือถือ 2. Edge - พรีวิวและแก้ไขการออกแบบเว็บบนอุปกรณ์พกพา เพื่อซิงก์ไปกับเบราเซอร์ การตรวจสอบระยะไกล 3.Edge Code - โปรแกรมสำหรับเขียนค็ดและแอปพลิเคชั่นด้วย HTML, CSS และ JavaScript โดยใช้ Edge Code Preview เพื่อนำไปแจกจ่าย หรือ พัฒนาต่อยอดจากโครงการโอเพนซอร์ส Brackets 4. Edge Reflow - สำหรับออกแบบโดยใช้มาตรฐาน CSS 5. Edge Web Fonts - ฟอนต์จากแหล่งโอเพนซอร์ส เพื่อใช้งานสำหรับเว็บและแอป 6. Typekit - เลือกฟอนต์ที่ต้องเสียค่าใช้จ่าย เพื่อนำมาใช้งานสำหรับเว็บและแอป 7. PhoneGap Build - สร้างแอปมือถือด้วย HTML, JavaScript, CSS โดยพัฒนาจาก PhoneGap ใน Dreamweaver CS6 บริการทั้งหมดสามารเชื่อมต่อกับ Adobe Creative Cloud ซึ่งใช้งานได้ทั้งแบบฟรีและเสียค่าใช้จ่าย |
|
|
วารสาร |
Education in Science (No.250, November 2012, p.17) |
ชื่อบทความ: |
ARKive: a free multimedia guide to the world’s animals and plants. |
ผู้แต่ง: |
Muir, Lucie |
สาระการเรียนรู้: |
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระ 4 ช่วงชั้น 4 |
คำสำคัญ: |
กิจกรรมการเรียนการสอน / เกมส์ / รูปภาพ / วีดีโอคลิป / เว็บไซต์ / สิ่งมีชีวิต / สื่อการเรียนการสอน |
สรุปเนื้อหา: |
ARKive หรือ www.arkive.org เป็นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับธรรมชาติ รวบรวมวีดีโอคลิป และ รูปภาพ เพื่อใช้เป็นสื่อในการเรียนการสอน ที่ครูสามารถนำไปใช้ได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย สำหรับรูปภาพและวีดีโอกว่าหนึ่งแสนรายการ นอกจากนี้ยังรวบรวมข้อมูลสิ่งมีชีวิตไว้มากกว่า 15,000 สปีชีส์ เกมส์ และกิจกรรมการเรียนการสอน สำหรับเด็กอายุ 8-15 ปี |
|
|
วารสาร |
SSR (Vol.94, No.347, December 2012, pp.37-44) |
ชื่อบทความ: |
Using the internet to educate the world: the Earthlearningidea website. |
ผู้แต่ง: |
Kennett, Peter |
สาระการเรียนรู้: |
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระ 6 ทุกช่วงชั้น |
คำสำคัญ: |
กิจกรรมการเรียนการสอน / วิทยาศาสตร์โลก / เว็บไซต์ / สื่อการเรียนการเรียนการสอน / Earth Science |
สรุปเนื้อหา: |
เว็บไซต์ Earthlearningidea ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อปี 2007 เนื่องในโอกาศ International Year of Planet Earth โดยมีการเพิ่มเติมกิจกรรมใหม่เป็นระยะๆ เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้เรียน ให้สนุกกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลก ซึ่งกิจกรรมส่วนมากใช้วัสดุอุปกรณ์น้อยชิ้น ทำให้โรงเรียนในประเทศกำลังพัฒนาสามารถนำไปปฏิบัติในโรงเรียนของตนเองได้ โดยไม่ต้องพึ่งพาวัสดุอุปกรณ์ที่ยุ่งยากซับซ้อน นอกจากนี้ยังมีการแปลเป็นภาษาต่างๆ ถึง 8 ภาษา ได้แก่ เยอรมัน อิตาลี จีน นอรเวย์ โปรตุเกส สเปน คาตาลัน และ ทามิล นอกจากนี้ยังมีแผนที่จะแปลเป็นภาษาเกาหลีอีกด้วย |
|
|
|
จดหมายข่าว โครงการเครือข่ายสารสนเทศวิทยาศาสตร์สู่สถาบันการศึกษา จัดทำโดย ฝ่ายนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) 924 ถนนสุขุมวิท คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2392 4021-9 ต่อ 3306 โทรสาร 0 2712 3758
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|