|
ปีที่ 10 | ฉบับที่ 2 | วันที่ 31 มกราคม 2556
|
|
|
|
|
|
|
|
อากาศแปรปรวน รักษาสุขภาพอย่าให้เป็นหวัด พบกับสรุปบทความน่าสนใจ และเช่นเคยพบกับบทความเต็มใน SciInfoNet NEWS ได้ที่ห้องสมุด สสวท. ในเวลาราชการ หากท่านเห็นว่า SciInfoNet NEWS จะเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ขอท่านส่งต่อ และ/หรือ แนะนำให้สมัครเป็นสมาชิก โดยกรอกรายละเอียดลงในแบบฟอร์มใบสมัคร ซึ่งสามารถ download ได้ที่ Memberships แล้วส่งกลับมายัง This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. และเช่นเคย หากท่านมีข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะใด ๆ โปรดส่งมายังโครงการ เพื่อจะได้ปรับปรุงให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป |
|
|
|
|
|
วารสาร การศึกษาไทย |
วารสาร ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา |
Science Illustrated |
UpDate |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
ปีที่ 9, ฉบับที่ 95 กันยายน 2555 |
ปีที่ 32, ฉบับที่ 4 2555 |
ฉบับที่ 018 ธันวาคม 2555 |
ปีที่ 27, ฉบับที่ 301 พฤศจิกายน 2555 |
|
|
The American Biology Teacher |
American Scientist |
Astronomy |
BioScience |
Chemistry World |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
Vol.74, No.9 November/ December 2012 |
Vol.100, No.6 November- December 2012 |
Vol.40, No.12 December 2012 |
Vol.62, No.10 October 2012 |
Vol.9, No.11 November 2012 |
|
|
Cognition and Instruction |
Crux Mathematicorum |
Curriculum Perspectives |
Mathematics Teaching (MT) |
National Geographic |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
Vol.30, No.4 October- December 2012 |
Vol.37, No.8 December 2012 |
Vol.32, No.3 October 2012 |
No.231 November 2012 |
Vol.222, No.6 December 2012 |
|
|
NewScientist |
Popular Science |
Primary Science |
Research in Science Education |
J. of Research in Science Teaching |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
Vol.216, No.2891 17 November 2012 |
Vol.281, No.6 December 2012 |
No.125 November/ December 2012 |
Vol.42, No.6 December 2012 |
Vol.49, No.9 November 2012 |
|
|
ROEPER Review |
Science & Children |
Science Education |
Science Scope |
Technology and Engineering Teacher |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
Vol.34, No.4 October- December 2012 |
Vol.50, No.3 November 2012 |
Vol.96, No.6 November 2012 |
Vol.36, No.3 November 2012 |
Vol.72, No.3 November 2012 |
|
|
Time |
|
|
สารบัญ |
Vol.180, No.22 26 November 2012 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
วารสาร |
ประชาคมวิจัย (ปีที่ 18, ฉบับที่ 104, กรกฎาคม-สิงหาคม 2555, pp.7-18) |
ชื่อบทความ: |
มหัศจรรย์คุณค่าจากผลไม้ไทย |
ผู้แต่ง: |
ฝ่ายเกษตร สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย |
สาระการเรียนรู้: |
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระ 1 ช่วงชั้น 2,3 |
คำสำคัญ: |
เงาะ / ชมพู่ / ผลไม้ไทย / ฝรั่ง / มะเฟือง / มะม่วง / มะละกอ / มังคุด / ลำไย / ลิ้นจี่ / ส้มโอ / สับปะรด / สารต้านอนุมูลอิสระ / สารอาหาร |
สรุปเนื้อหา: |
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ได้สนับสนุนงานวิจัยเพื่อศึกษาหาปริมาณสารสำคัญ อาทิ flavanoid, carotenoid, enzymes, phenolic acid, prebiotic ครอบคลุมผลไม้ไทย 25 ชนิด องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษานี้ ได้แสดงให้เห็นคุณค่าของผลไม้ไทยในด้านเสริมสุขภาพ อาทิ ฝรั่ง – อุดมด้วยวิตามิน ซี มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ลดคอเลสเตอรอล ลดน้ำตาลในเลือดและลดความดัน มะม่วง – มีสารต้านอนุมูลอิสระในกลุ่มเบต้าแคโรทีน ฟีนอลลิก และ ฟลาโวนอยด์ ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน ลำไย – มีวิตามิน ซี โปตัสเชียม (K) และ ทองแดง (Cu) สารสกัดเมล็ดและเนื้อลำใยช่วยลดการหดตัวของหลอดเลือด สารสกัดจากส่วนเนื้อลำไยอบแห้องหรือเมล็ดลำไยแห้งมีคุณสมบัติต้านการเกิดมะเร็ง ส้มโอ – ช่วยลดปริมาณน้ำตาลในเลือดและลดการย่อยแป้ง จึงเหมาะสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน มะละกอ – มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระทั้งผลดิบและผลสุก ลดภาวะเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือด และโรคความจำบกพร่อง ชมพู่ – ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง มังคุด – มีสารยับยั้งอนุมูลอิสระหลายชนิด ลดความเสี่ยงในเรื่องระบบไหลเวียนโลหิตอุดตันหัรือลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง ลิ้นจี่ – มีผลในการต้านอักเสบและป้องกันมะเร็งที่ไม่แรงนัก และอุดมด้วยวิทยามิน ซี และ แร่ธาตุ เงาะ – มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ มีวิตามิน ซี สูง ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคเลือดอุดตันและมะเร็ง สับปะรด – โบรมิเลน ในสับปะรดเพิ่มภูมิคุ้มกันในร่างกาย ช่วยกระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์มะเร็ง มะเฟือง – อุดมด้วยสารต้านอนุมูลอิสระหลายชนิด เป็นแหล่งใยอาหารที่มีประโยชน์ในการลดน้ำตาล และไขมันในเลือด |
|
|
วารสาร |
Education in Chemistry (Vol.49, No.6, November 2012, p.6) |
ชื่อบทความ: |
On this day. |
ผู้แต่ง: |
- |
สาระการเรียนรู้: |
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระ 8 ทุกช่วงชั้น |
คำสำคัญ: |
การใช้ ICT ในการเรียนการสอน / ข้อมูล / เคมี / ปฏิทินอินเทอร์แอคทีฟ / ประวัติ / Interactive Calendar |
สรุปเนื้อหา: |
เว็บไซต์ของ Royal Society of Chemistry (http://www.rsc.org/) ได้นำปฏิทินอินเทอร์แอคทีฟ ที่รวบรวมเหตุการณ์และประวัติศาสตร์สำคัญทางด้านเคมี เมื่อคลิกบนวันที่ใดวันทื่หนึ่ง ก็จะแสดงเหตุการณ์สำคัญของวันนั้นในประวัติศาสตร์ให้ทราบ ทดลองดูได้ที่ http://www.rsc.org/learn-chemistry/collections/chemistry-calendar หรือ ในหน้าแรก (http://www.rsc.org/) ภายใต้แท็บ Education ให้คลิกที่ On This Day in Chemistry |
|
|
วารสาร |
Physics Teacher (Vol.50, No.9, December 2012, pp.520-522) |
ชื่อบทความ: |
Astrophotography on the Cheap. |
ผู้แต่ง: |
Niederriter, Chuck and Belloni, Mario |
สาระการเรียนรู้: |
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระ 7 ช่วงชั้น 3 |
คำสำคัญ: |
กล้องดิจิทัล / การถ่ายภาพดวงดาวและวัตถุในอวกาศ / ดาราศาสตร์ / Asgtrophotograhphy |
สรุปเนื้อหา: |
การถ่ายภาพดวงดาวและวัตถุในอวกาศ (Asgtrophotograhphy) ไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์เฉพาะทางดาราศาสตร์ที่มีราคาแพง กล้องดิจิทัล และ กล้องวีดีโอ ที่ใช้อยู่กันทั่วไป หรือ แม้แต่กล้องจากโทรศัพท์มือถือ ก็สามารถถ่ายภาพดวงดาวและวัตถุในอวกาศได้ เช่น ถ่ายผ่านเลนส์ตา (eyepiece) ของกล้องดูดาว โดยใช้หรือไม่ใช้ adapter การที่ผู้เรียนสามารถถ่ายภาพดวงดาวและวัตถุในอวกาศได้เอง ด้วยอุปกรณ์ที่อยู่แล้วเช่น กล้องดิจิทัล โทรศัพท์มือถือ ทำให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นที่จะทำการศึกษาดาราศาสตร์มากขึ้น |
|
|
วารสาร |
Science & Children (Vol.50, No.4, December 2012, pp.40-45) |
ชื่อบทความ: |
The science of safety. |
ผู้แต่ง: |
Jensen, Jill |
สาระการเรียนรู้: |
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระ 4 ช่วงชั้น 2 |
คำสำคัญ: |
การบูรณาการ / กิจกรรมการเรียนการสอน / วิศวกรรมศาสตร์ |
สรุปเนื้อหา: |
บทความนี้นำเสนอการบูรณาการวิศวกรรมศาสตร์เข้าสู่การเรียนการสอนของผู้เรียนชั้นประถมศึกษา โดยการออกแบบอุปกรณ์ให้ความปลอดภัยแก่ผู้นั่งอยู่ในรถที่ถูกปล่อยลงจากทางลาด โดยมีอิฐบล็อคกั้นอยู่ห่างออกไป 50 ซม. ซึ่งผู้เรียนต่างคาดเดากันว่าตุ๊กตาที่นั่งอยู่ในรถจะต้องกระเด็นออกมา และจำเป็นจะต้องมีเข็มขัดนิรภัยเพื่อความปลอดภัย กระบวนการที่ใช้ในชั้นเรียนได้แก่ Ask – เราจะให้คนนั่งในรถมีความปลอดภัยได้อย่างไร? Imagine – นักเรียนช่วยกันระดมความคิด ในการประดิษฐอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย Plan – ทำการจดบันทึก ลักษณะและสมบัติของวัสดุที่จะใช้ Create – ลงมือสร้างอุปกรณ์ป้องกันสำหรับรถ Improve – ปรับปรุงแก้ไข จนได้อุปกรณ์ตามที่ได้วางแผนไว้ |
|
|
|
จดหมายข่าว โครงการเครือข่ายสารสนเทศวิทยาศาสตร์สู่สถาบันการศึกษา จัดทำโดย ฝ่ายนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) 924 ถนนสุขุมวิท คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2392 4021-9 ต่อ 3306 โทรสาร 0 2712 3758
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|