|
ปีที่ 10 | ฉบับที่ 5 | วันที่ 15 มีนาคม 2556
|
|
|
|
|
|
|
|
ฉบับนี้พบกับสรุปบทความน่าสนใจ และเช่นเคยพบกับบทความเต็มใน SciInfoNet NEWS ได้ที่ห้องสมุด สสวท. ในเวลาราชการ หากท่านเห็นว่า SciInfoNet NEWS จะเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ขอท่านส่งต่อ และ/หรือ แนะนำให้สมัครเป็นสมาชิก โดยกรอกรายละเอียดลงในแบบฟอร์มใบสมัคร ซึ่งสามารถ download ได้ที่ Memberships แล้วส่งกลับมายัง This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. และเช่นเคย หากท่านมีข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะใด ๆ โปรดส่งมายังโครงการ เพื่อจะได้ปรับปรุงให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป |
|
|
|
|
|
สารคดี |
หมอชาวบ้าน |
วารสาร วิทยาศาสตร์ |
เคหการเกษตร |
Business+ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
ปีที่ 28, ฉบับที่ 334 ธันวาคม 2555 |
ปีที่ 34, ฉบับที่ 405 มกราคม 2556 |
ปีที่ 66, ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน- ธันวาคม 2555 |
ปีที่ 37, ฉบับที่ 1 มกราคม 2556 |
ฉบับที่ 286 ธันวาคม 2555 |
|
|
Chip |
Eworld |
Micro Computer |
PC Today |
Science Illustrated |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
ปีที่ 11, ฉบับที่ 12 ธันวาคม 2555 |
ฉบับที่ 2012-12 ธันวาคม 2555 |
ปีที่ 31, ฉบับที่ 330 มกราคม 2556 |
ปีที่ 9, ฉบับที่ 118 ธันวาคม 2555 |
ฉบับที่ 019 มกราคม 2556 |
|
|
J. of Biological Education |
Mathematics Teaching in the Middle School |
NewScientist |
Time |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
Vol.46, No.4 December 2012 |
Vol.18, No.4 November 2012 |
Vol.216, No.2895 15 December 2012 |
Vol.180, No.27 31 December 2012/ 7 January 2013 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
วารสาร |
Micro Computer (ปีที่ 31, ฉบับที่ 332, มีนาคม 2556, pp.138-139) |
ชื่อบทความ: |
ลบไฟล์ขยะบน Windows ด้วย CCleaner |
ผู้แต่ง: |
สุธีร์ นวกุล |
สาระการเรียนรู้: |
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระ 4 ช่วงชั้น 4 |
คำสำคัญ: |
ไฟล์ขยะ / CCleaner / Utility software / Windows |
สรุปเนื้อหา: |
เมื่อใช้งาน Windows จะเกิดขยะจากการใช้งาน เช่น ไฟล์ที่เกิดจากการติดตั้งเสร็จแล้ว แต่ไม่ได้ลบไฟล์ที่ใช้งาน หรือ ดาวน์โหลดไฟล์เอกสารจากอินเทอร์เน็ตขึ้นมาเปิดใช้งาน เป็นต้น ในการลบไฟล์ขยะเหล่านี้ CCleaner เป็นโปรแกรมหนึ่งที่จะช่วยเราได้ โดยสามารถดาวน์โหลดโปรแกรมได้จาก http://www.piriform.com/ บทความนี้ยังนำเสนอขั้นตอนการใช้งาน CCleaner เพื่อลบไฟล์ขยะต่างๆ |
|
|
วารสาร |
Science Scope (Vol.36, No.5, January 2013, pp.14-18) |
ชื่อบทความ: |
Scienific inquiry meets storytelling and filmmaking. |
ผู้แต่ง: |
Alfred Daniel Olivas |
สาระการเรียนรู้: |
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระ 8 ช่วงชั้น 2 |
คำสำคัญ: |
การทดลองทางวิทยาศาสตร์ / การนำเสนอ / การสืบเสาะเพื่อหาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ / รายงาน / Filmmaking / Multimedia / Scientific inquiry / Video lab report |
สรุปเนื้อหา: |
หากพูดถึงการทำรายงานการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ผู้เรียนจะนึกถึงการเขียนรายงาน การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบตาราง รายละเอียดต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการทำการทดลองในห้องปฏิบัติการ บทความนี้นำเสนอการทำรายงานในรูปแบบมัลติมีเดีย โดยผู้เรียนเกรด 6 วีดิทัศน์รายงานการทดลองนี้ (video lab report) มีความยาวประมาณ 4-5 นาที ประกอบด้วยภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว การอธิบายด้วยเสียง หรือ ตัวอักษร โดยมีการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม และทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดทำ อาทิ ความสามารถส่วนตัวของแต่ละคน ความรู้ ความต้องการ ความคิดเห็นของแต่ละคน การร่วมมือ การวางแผน และทักษะในการนำเสนอ |
|
|
วารสาร |
Science Scope (Vol.36, No.5, January 2013, pp.48-57) |
ชื่อบทความ: |
Using presentation software to integrate formative assessment into science instruction. |
ผู้แต่ง: |
Keith Roscoe, Ali Derksen and Kathy Curtis |
สาระการเรียนรู้: |
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระ 4 ช่วงชั้น 4 |
คำสำคัญ: |
การประเมินเพื่อการพัฒนา / การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ / ซอฟท์แวร์การนำเสนอ / ดิจิทัลเทคโนโลยี / Backward Design Process / Digital technology / Formative / Assessment / Interactive Whiteboard / Presentation software |
สรุปเนื้อหา: |
ปัจจุบันได้มีการนำดิจิทัลเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ อาทิ Interactive Whiteboard ซอฟท์แวร์การนำเสนอ บทความนี้อธิบายถึงการนำกระบวนการออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design Process) และ การใช้ซอฟท์แวร์การนำเสนอ สำหรับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ที่มีการประเมินเพื่อการพัฒนา (Formative Assessment) การใช้ดิจิทัลเทคโนโลยี ทำให้ง่ายต่อการนำ ข้อความ ภาพกราฟิก เสียง และ ภาพเคลื่อนไหว มาออกแบบหน่วยการเรียนรู้ที่ดึงดูดความสนใจของผู้เรียน |
|
|
วารสาร |
Science Scope (Vol.36, No.5, January 2013, pp.76-81) |
ชื่อบทความ: |
Investigating change using the invisible-test-tube demonstration. |
ผู้แต่ง: |
Patrick Brown |
สาระการเรียนรู้: |
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระ 5 ช่วงชั้น 2 |
คำสำคัญ: |
การหักเหของแสง / กิจกรรมการเรียนการสอน / เทคนิคการเรียนการสอน / Explain / Observe / Predict / PSOE / Refraction / Share |
สรุปเนื้อหา: |
บทความนี้นำเสนอการเรียนการสอนเรื่องการหักเหของแสง ด้วยวิธีที่ไม่ซับซ้อน ไม่ต้องการอุปกรณ์ราคาแพง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ในรูปแบบการสอน PSOE (Predict, Share, Observe, Explain) โดยผู้สอนมีบทบาทในการกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน ก่อนที่จะอธิบายความรู้ใหม่ให้แก่ผู้เรียน เทคนิคนี้ยังช่วยให้ผู้สอนสามารถเน้นจุดสนใจไปยังหัวข้อสำคัญที่ต้องการให้ผู้เรียนติดตาม รวมถึงมีกิจกรรมตามลำดับเสริมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถนำเสนอความคิดเห็นได้ทั้งในรูปแบบปากเปล่า หรือ รายงาน ด้วยการทำงานร่วมกัน |
|
|
|
จดหมายข่าว โครงการเครือข่ายสารสนเทศวิทยาศาสตร์สู่สถาบันการศึกษา จัดทำโดย ฝ่ายนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) 924 ถนนสุขุมวิท คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2392 4021-9 ต่อ 3306 โทรสาร 0 2712 3758
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|