|
ปีที่ 10 | ฉบับที่ 7 | วันที่ 15 เมษายน 2556
|
|
|
|
|
|
|
|
ชุ่มฉ่ำกับมหาสงกรานต์กันแล้ว ฉบับนี้พบกับสรุปบทความน่าสนใจ และเช่นเคยพบกับบทความเต็มใน SciInfoNet NEWS ได้ที่ห้องสมุด สสวท. ในเวลาราชการ หากท่านเห็นว่า SciInfoNet NEWS จะเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ขอท่านส่งต่อ และ/หรือ แนะนำให้สมัครเป็นสมาชิก โดยกรอกรายละเอียดลงในแบบฟอร์มใบสมัคร ซึ่งสามารถ download ได้ที่ Memberships แล้วส่งกลับมายัง This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. และเช่นเคย หากท่านมีข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะใด ๆ โปรดส่งมายังโครงการ เพื่อจะได้ปรับปรุงให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป |
|
|
|
|
|
สารคดี |
หมอชาวบ้าน |
Advanced Thailand Geographic |
Chip |
Computer Today |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
ปีที่ 28, ฉบับที่ 335 มกราคม 2556 |
ปีที่ 34, ฉบับที่ 406 กุมภาพันธ์ 2556 |
ปีที่ 18, ฉบับที่ 137 2555 |
ปีที่ 12, ฉบับที่ 1 มกราคม 2556 |
ปีที่ 22, ฉบับที่ 445 ปักษ์หลัง มกราคม 2556 |
|
|
Eworld |
Science Illustrated |
UpDate |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
ฉบับที่ 2013-01 มกราคม 2556 |
ฉบับที่ 020 กุมภาพันธ์ 2556 |
ปีที่ 28, ฉบับที่ 303 มกราคม 2556 |
|
|
BioScience |
J. of College Science Teaching |
Curriculum Perspectives |
Educational Researcher |
Int. J. of Mathematical Education |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
Vol.62, No.12 December 2012 |
Vol.42, No.3 January/ February 2013 |
Vol.32, No.4 December 2012 |
Vol.41, No.9 December 2012 |
Vol.44, No.1 15 January 2013 |
|
|
Mathematics Teaching (MT) |
Mathematics Teaching in the Middle School |
NewScientist |
NewScientist |
NewScientist |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
No.232 January 2013 |
Vol.18, No.5 December 2012/ January 2013 |
Vol.217, No.2898 5 January 2013 |
Vol.217, No.2899 12 January 2013 |
Vol.217, No.2900 19 January 2013 |
|
|
Popular Science |
J. for Research in Mathematics Education |
Int. J. of Science Education |
Science Teacher |
Teaching Children Mathematics |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
Vol.282, No.2 February 2013 |
Vol.44, No.1 January 2013 |
No.126 January/ February 2013 |
Vol.34, No.17-18 December 2012 |
Vol.19, No.5 December 2012/ January 2013 |
|
|
Tech & Learning |
Time |
Time |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
|
|
สารบัญ |
Vol.33, No.6 January 2013 |
Vol.181, No.2 21 January 2013 |
Vol.181, No.3 28 January 2013 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
วารสาร |
Science Scope (Vol.36, No.6, February 2013, pp.21-29) |
ชื่อบทความ: |
Building on students’ knowledge of solar cells. |
ผู้แต่ง: |
Marsha Ing, Mary Ward and Elaine Haberer |
สาระการเรียนรู้: |
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระ 5 ช่วงชั้น 2,3 |
คำสำคัญ: |
การเรียนการสอนแบบบูรณาการ / การออกแบบ / รถยนตร์พลังงานแสงอาทิตย์ / วัสดุเหลือใช้ / วิศวกรรมศาสตร์ / Solar cells |
สรุปเนื้อหา: |
หน่วยการเรียนรู้เรื่องพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งมีการบูรณาการด้านวิศวกรรม เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เป็นประสบการณ์ที่น่าตื่นเต้นสำหรับผู้เรียน เนื่องจากกำลังมีการติดตั้งแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ที่โรงเรียนในบริเวณนั้นพอดี ผู้เรียนสนุกกับการออกแบบและร่วมกันสร้างรถยนตร์พลังงานแสงอาทิตย์จากวัสดุเหลือใช้เช่น ไม้ แผ่นพลาสติก รวมทั้งมีการตกแต่งรถยนตร์ของตัวเอง หลังจากประกอบและทดลองวิ่ง ได้มีการจัดการแข่งรถยนตร์พลังงานแสงอาทิตย์ |
|
|
วารสาร |
Science Scope (Vol.36, No.6, February 2013, pp.55-60) |
ชื่อบทความ: |
Integrating science and engineering practices in an inquiry-based lesson on wind-powered cars. |
ผู้แต่ง: |
Rommel J. Miranda and Ronald S. Hermann |
สาระการเรียนรู้: |
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระ 5 ช่วงชั้น 2,3 |
คำสำคัญ: |
การเรียนการสอนแบบบูรณาการ / การออกแบบ / รถยนตร์พลังงานลม / วิศวกรรมศาสตร์ / Wind-powered car |
สรุปเนื้อหา: |
บทความนี้นำเสนอการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ด้านการออบแบบทางวิศวกรรม เพื่อพัฒนาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เรื่องการเคลื่อนที่ การออกแบบรถยนตร์พลังงานลม หน่วยการเรียนรู้นี้ใช้เวลา 7 วัน เริ่มจากผู้สอนให้ข้อมูลเกี่ยวกับรถไฟฟ้าซึ่งหาได้จากอินเทอร์เน็ต คลิปวิดีโอแสดงการทำงานของรถยนตร์ไฟฟ้า หลังจากนั้นมีการตั้งคำถามว่าจะดัดแปลงรถยนตร์พลังงานไฟฟ้าให้ใช้พลังงานลมในการเคลื่อนที่ได้อย่างไร ผู้เรียนอภิปรายและนำเสนอข้อคิดเห็นต่างๆ ก่อนทำการออกแบบและสร้างรถยนตร์พลังงานลมในกลุ่มของตนเอง หลังจากนั้นทำการทดลองวิ่ง แล้วนำเสนอสิ่งที่สังเกตได้มาวิพากษ์วิจารณ์และทำการแก้ไขปรับปรุง |
|
|
วารสาร |
Science Scope (Vol.36, No.6, February 2013, pp.62-70) |
ชื่อบทความ: |
Lunch-trash solar stills. |
ผู้แต่ง: |
Pamela Lottero-Perdue, Christine Roland, Katrina Turner and Jim Pettitt |
สาระการเรียนรู้: |
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระ 5 ช่วงชั้น 2,3 |
คำสำคัญ: |
การเรียนการสอนแบบบูรณาการ / การออกแบบ / เครื่องกลั่นน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ / วัฎจักรของน้ำ / วิศวกรรมศาสตร์ / pH / Solar still |
สรุปเนื้อหา: |
ในหน่วยการเรียนรู้นี้ ผู้เรียนได้นำความรู้เกี่ยวกับวัฎจักรของน้ำ และ เครื่องกลั่นนำพลังงานแสงอาทิตย์ มาบูรณาการการออกแบบเครื่องมือในการเปลี่ยนน้ำที่ใช้ดื่มไม่ได้เป็นน้ำที่สามารถดื่มได้ โดยใช้ค่า pH ของน้ำเป็นตัวชี้วัดคุณภาพ โดยน้ำที่มี pH เป็นด่าง ประมาณ 10 เป็นน้ำสกปรกที่ไม่สามารถใช้ดื่มได้ ส่วนน้ำสะอาดจะมีค่า pH อยู่ระหว่าง 5 ถึง 6 |
|
|
|
จดหมายข่าว โครงการเครือข่ายสารสนเทศวิทยาศาสตร์สู่สถาบันการศึกษา จัดทำโดย ฝ่ายพัฒนาองค์กร ส่วนบริหารองค์ความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) 924 ถนนสุขุมวิท คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2392 4021-9 ต่อ 3306
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|