Table of Contents Table of Contents
Previous Page  88 / 254 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 88 / 254 Next Page
Page Background

จากข้อมูลให้อธิบายว่าอัตราการหายใจ ความดันย่อยของ O

2

ความดันย่อยของ CO

2

ความเข้มข้นของ H

+

ในเลือด ขณะพักและหลังออกกำ�ลังกายอย่างหนักมีการเปลี่ยนแปลง

อย่างไร เพราะเหตุใด โดยอาศัยความรู้เกี่ยวกับการควบคุมดุลยภาพของกรด-เบสของเลือด

โดยระบบหายใจ

ตารางแสดงผลการศึกษาอัตราการหายใจ ความดันย่อยของ O

2

ความดันย่อยของ CO

2

ความเข้มข้นของ H

+

ในขณะพักและหลังออกกำ�ลังกายอย่างหนัก

หัวข้อที่ศึกษา

ขณะพัก

หลังออกกำ�ลังกาย

อย่างหนัก

อัตราการหายใจ (minute ventilation)

20 L/min

70 L/min

ความดันย่อยของ O

2

ในอาร์เทอรี (arterial P

O

)

100 mmHg

100 mmHg

ความดันย่อยของ CO

2

ในอาร์เทอรี (arterial P

CO

)

40 mmHg

35 mmHg

ความเข้มข้นของ H

+

ในอาร์เทอรี จากกรดแลกติก

36 nmol/L

44 nmol/L

ที่มา: ดัดแปลงจาก Saladin, K. S. (2010).

Anatomy & Physiology : The Unity of Form and Function

(5

th

ed). New York: McGraw-Hill. p 474.

เมื่อมีการออกกำ�ลังกายอย่างหนักร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อรักษาดุลยภาพของร่างกายดังนี้

1.

อัตราการหายใจจะเพิ่มขึ้นสูงมาก ทั้งหายใจถี่และแรงหรือลึก

2.

ในกรณีของ O

2

ระหว่างการออกกำ�ลังกายร่างกายจะมีการสลายสารอาหารระดับเซลล์

เพิ่มขึ้นเพื่อให้ได้พลังงานในการทำ�กิจกรรม เนื้อเยื่อจึงต้องการ O

2

มากขึ้น ทำ�ให้ P

O 2

ในหลอดเลือดเวนลดลง แต่การหายใจที่เพิ่มขึ้นทำ�ให้ P

O 2

ในหลอดเลือดอาร์เทอรีไม่

เปลี่ยนแปลงไปจากขณะพัก

3.

ในกรณีของ CO

2

ระหว่างการออกกำ�ลังกายเซลล์กล้ามเนื้อสร้าง CO

2

เพิ่มขึ้น ทำ�ให้

P

CO 2

ในหลอดเลือดเวนเพิ่มขึ้น แต่ P

CO 2

ในหลอดเลือดอาร์เทอรีไม่เพิ่มแต่กลับลดลง

เนื่องจากการหายใจถี่และแรงหรือลึกทำ�ให้ CO

2

ถูกขับออกไปเร็วและมาก ดังนั้น CO

2

ในถุงลมลดลง และ P

CO 2

ในหลอดเลือดอาร์เทอรีลดลงกว่าก่อนออกกำ�ลังกาย

4.

ในกรณีของ H

+

ในหลอดเลือดอาร์เทอรีระหว่างออกกำ�ลังกายอย่างหนักพบว่าเซลล์

กล้ามเนื้อจะสร้างกรดแลกติก และหลั่งออกมาในเลือด ดังนั้นความเข้มข้นของ H

+

ในหลอดเลือดอาร์เทอรีเพิ่มขึ้นซึ่งกระตุ้นศูนย์ควบคุมการหายใจให้เพิ่มอัตราการหายใจ

กรณีศึกษา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 14 | ระบบหายใจ

ชีววิทยา เล่ม 4

76