5. การศึกษาฟีโนไทป์ของหมู่เลือดระบบ MN ในประชากรแห่งหนึ่งจำ�นวน 1,000 คน พบว่า
มีเลือดหมู่ M 280 คน เลือดหมู่ MN 490 คน และเลือดหมู่ N 230 คน จงหาความถี่ของ
จีโนไทป์
MM MN
และ
NN
และความถี่ของแอลลีล
M
และ
N
เลือดหมู่
M
MN
N
จีโนไทป์
MM
MN
NN
จำ�นวนประชากร (คน) 280
490
230
ความถี่ของจีโนไทป์
= 0.28
= 0.49
= 0.23
ยีนทุกตำ�แหน่งมี 2 แอลลีล
จำ�นวนแอลลีล
280 × 2 = 560
M
490
M
+ 490
N
230 × 2 = 460
N
(1,000 × 2 = 2,000)
ความถี่ของแอลลีล
= 0.525
M
= 0.475
N
ดังนั้นความถี่ของจีโนไทป์
MM MN
และ
NN
คือ 0.28 0.49 และ 0.23 ตามลำ�ดับ
ความถี่ของแอลลีล
M
และ
N
คือ 0.525 และ 0.475 ตามลำ�ดับ
6. จากการศึกษาสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิดหนึ่ง ลักษณะการมีเขาถูกควบคุมด้วยยีนตำ�แหน่งเดียว
และเป็นลักษณะที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบเด่นไม่สมบูรณ์ ในบริเวณหนึ่งซึ่งมีลักษณะ
เป็นทุ่งหญ้าและมีพุ่มไม้เตี้ยๆ กระจายอยู่โดยรอบ โดยในกลุ่มประชากรเริ่มต้นมีจำ�นวน
100,000 ตัว มีลักษณะเขายาวและแตกแขนง (
AA
) 64,000 ตัว เขาสั้น (
Aa
) 32,000 ตัว
และไม่มีเขา (
aa
) 4,000 ตัว ต่อมามีผู้ล่าซึ่งกินสัตว์ชนิดนี้เป็นอาหารย้ายเข้าสู่บริเวณ
ดังกล่าว ส่งผลให้ประชากรของสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิดนี้ในรุ่นต่อๆ มามีจำ�นวนเปลี่ยนแปลงไป
โดยเมื่อผ่านไป 10 ชั่วรุ่น พบว่ามีลักษณะเขายาวและแตกแขนง 200 ตัว เขาสั้น 1,200 ตัว
และไม่มีเขา 600 ตัว
280
1,000
(560 + 490)
2,000
(490 + 460)
2,000
490
1,000
230
1,000
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 7 | วิวัฒนาการ
ชีววิทยา เล่ม 2
246