องค์ประกอบทางเคมีของรารังนก (Cyathus striatus) จากส่วนสกัดหยาบเอทิลอะซีเตต
ชื่อผู้ทำโครงงาน
นางสาวดุษฎี อึงพินิจพงศ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.ขวัญใจ กนกเมธากุล
สถาบันการศึกษา
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์)
ระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หมวดวิชา
เคมี
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
จากการสกัดเส้นใยของรารังนก (Cyathus striatus) 405 กรัม ซึ่งเลี้ยงในอาหารเหลว Potato Dextose Broth (PDB) ด้วยตัวทำละลายอินทรีย์ 3 ชนิด ได้สารสกัดหยาบเฮกเซน 6.9 กรัม (1.7%) สารสกัดหยาบเอทิลอะซีเตต 8.0 กรัม (2%) และสารสกัดหยาบเมทานอล 93.7 กรัม (23%) เมื่อแยกสารสกัดหยาบเอทิลอะซีเตต 7.2 กรัม โดยวิธีโครมาโทกราฟี ได้สารไตรเทอร์ปีนอยด์ 2 สาร จากการพิสูจน์โครงสร้างโดยเทคนิคสเปกโทรสโคปี และ พบว่าสาร 1 คือ Glochidone และสาร 2 คือ Glochidonol สำหรับการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารทั้งสองอยู่ระหว่างการดำเนินการ
ดาวน์โหลด
คำสำคัญ
เคมี,รา,รังนก,อทิลอะซีเตต
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นางสาวดุษฎี อึงพินิจพงศ์
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน, บุคคลทั่วไป
-
5108 องค์ประกอบทางเคมีของรารังนก (Cyathus striatus) จากส่วนสกัดหยาบเอทิลอะซีเตต /project-biology/item/5108-cyathus-striatusเพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (77540)
ให้คะแนน
โรคจุดดำ (black disease) เป็นโรคที่ทำให้ไรน้ำนางฟ้าตายหลังจากแสดงอาการของโรคภายใน 1-5 วัน ...
Hits (112068)
ให้คะแนน
เดิมการกู้ระเบิดแต่ละครั้งต้องใช้คนเข้าไปสำรวจวัตถุระเบิดว่าระเบิดนั้นเป็นว่าระเบิดชนิดใด ...
Hits (76795)
ให้คะแนน
จากการเลี้ยงต้นอ่อนกล้วยไม้ Bulbophyllum affine อายุ 8 เดือน บนอาหารกึ่งแข็งดัดแปลงสูตรต่างๆ ...