การศึกษาส่วนแรกของกุ้งที่ติดไวรัส
ชื่อผู้ทำโครงงาน
นายจักรพันธ์ นันทิกะ
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. ไพศาล สิทธิกรกุล
สถาบันการศึกษา
โรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย มุกดาหาร
ระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
การทดลองเพื่อศึกษาหาอวัยวะส่วนแรกของกุ้งที่ติดไวรัส แบ่งการทดลองออกเป็น 2 การทดลองคือ การทดลองที่ 1 ศึกษาระยะเวลาในการติดไวรัส ( Infect Virus ) ของกุ้งเมื่อกินอาหารที่มีไวรัสเข้าไป ผลการทดลองพบว่า กุ้งที่กินอาหารเข้าไป 48 ชั่วโมงขึ้นไป ให้ผลเป็น Positive หมดส่วนเวลาที่น้อยกว่านั้นลงมาไม่พบว่าผลเป็น Positive การทดลองที่ 2 ศึกษาเพื่อหาอวัยวะส่วนที่สามารถมีการ Infect Virus ด้วยกระบวนการ Immunocytochemistry พบว่าในชุดทดลอง 48 ชั่วโมง กุ้งมีการ Infect บริเวณ gill และส่วนที่เป็น Hepatopencreas แต่จะพบบริเวณ gill เป็นส่วนใหญ่ ส่วนในชุด 24 ชั่วโมง จะพบว่า เกือบทั้งหมดที่ติดสี จะเป็น บริเวณ gill และมีเป็นส่วนน้อยที่ติดสี บริเวณ Hepatopencreas
ดาวน์โหลด
คำสำคัญ
กุ้ง,ติด,ไวรัส
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นายจักรพันธ์ นันทิกะ
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน, บุคคลทั่วไป
-
5155 การศึกษาส่วนแรกของกุ้งที่ติดไวรัส /project-biology/item/5155-2016-09-09-03-28-45_5155เพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (73463)
ให้คะแนน
การศึกษาชนิดและถิ่นที่อยู่ในเขตเทศบาลเมืองพิษณุโลก กรณีศึกษาชุมชนวัดอรัญญิกและชุมชนเมือ ต.ในเมือง ...
Hits (73225)
ให้คะแนน
จากการศึกษาจำนวนโครโมโซมของไก่ฟ้าไทย จากสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 5 ...