การศึกษาสารเชิงซ้อนคอปเปอร์(II) ของอะมิดิโนโออัลคิลยูเรีย เพื่อเป็นสารทำลายดีเอ็นเอ
ชื่อผู้ทำโครงงาน
สุนทร สุวอเขียวและลัดดา กรมบัวภา
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ผศ.ดร.อัญชุลี สุกแสงปัญญา
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
เคมี
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
ในโครงงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาอันตรกิริยาระหว่างไซโตซีนกับสารเชิงซ้อนคอปเปอร์(II) ของอะมิดิโนโออัลคิลยูเรีย 4 ชนิด คือ [Cu(aOmu)X2] และ [Cu(aOeu)X2] เมื่อ aOmu คือ อะมิดิโนโอเมทิล ยูเรีย และ aOeu คือ อะมิดิโนโอเอทิลยูเรีย; X คือ Cl- หรือ Br- ผลิตภัณฑ์ที่ได้นำมาวิเคราะห์ด้วยเทคนิค อินฟาเรดสเปกโทรโฟโตเมททรี และเทคนิคดิฟฟิวส์รีเฟลกแตนสเปกโทรโฟโตเมททรี จากผลการทดลองชี้ให้เห็นว่าไซโตซีนสามารถโคออร์ดิเนตกับคอปเปอร์(II) ได้ผลิตภัณฑ์เป็น [Cu(aOmu)(cytosine)2]X2 และ [Cu(aOeu)(cytosine)2]X2
คำสำคัญ
สาร,เชิง,ซ้อน,คอปเปอร์,อะ,มิ,ดิ,โน,โอ,อัล,คิล,ยูเรีย,ดี,เอ็น,เอ
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
สุนทร สุวอเขียวและลัดดา กรมบัวภา
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5493 การศึกษาสารเชิงซ้อนคอปเปอร์(II) ของอะมิดิโนโออัลคิลยูเรีย เพื่อเป็นสารทำลายดีเอ็นเอ /project-biology/item/5493-ii-5493เพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (74330)
ให้คะแนน
This research determining benzoic acid and sorbic acid in food by high performance liquid ...
Hits (69958)
ให้คะแนน
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลของผงหนอนไหม (Bombyx mori Linn.) ...
Hits (80661)
ให้คะแนน
การศึกษาจำนวนโครโมโซมและคาริโอไทป์ของสุนัขพันธุ์บางแก้ว ...