ความสัมพันธ์ระหว่างแรงอัดกับสมบัติการเป็นสารไดอิเล็กตริก
ชื่อผู้ทำโครงงาน
ภาณุวัตร หนูมา และ จตุรพร พันธ์งาม
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ผศ.รักชาติ ท่าโพธิ์
สถาบันการศึกษา
สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของแรงในการอัดเม็ดสารตัวอย่างสารเซรามิกแบเรียม ไททาเนตที่มีต่อสมบัติการเป็นสารไดอิเล็กตริก ในการทำวิจัยได้เตรียมสารแบเรียมไททาเนต นำแบเรียมคาร์บอเนต ผสมกับไททาเนียมไดออกไซด์ในอัตราส่วน 1:1 โมล ด้วยวิธีบดย่อยแบบบอลมิลลิ่ง นาน 6 ชั่วโมง นำส่วนผสมที่ได้ไปเผาที่อุณหภูมิ 800 o C นาน 2 ชั่วโมงจากนั้นนำแบเรียมไททาเนตมาอัดเม็ดด้วยแรงขนาด 15,000 N 25,000 N 35,000 N และ 45000 N ตามลำดับ แล้วเผาเม็ดสารที่อุณหภูมิ 900 oC เท่ากันทุกเม็ดเป็นเวลา 2 ชั่วโมง ติดกาวเงินเพื่อทำขั้วไฟฟ้า แล้วนำไปวัดค่าความจุไฟฟ้า และนำมาคำนวณหา ค่าคงที่ไดอิเล็กตริก เซรามิกจากแบเรียมไททาเนตที่มีค่าคงที่ไดอิเล็กตริกสูงที่สุด เป็นเซรามิกที่อัดด้วยแรงดัน 45,000 N จากการทดลองพบว่าค่าคงที่ไดอิเล็กตริกเฉลี่ยของแบเรียมไททาเนตเป็นปฏิภาค
คำสำคัญ
สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
ภาณุวัตร หนูมา และ จตุรพร พันธ์งาม
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5688 ความสัมพันธ์ระหว่างแรงอัดกับสมบัติการเป็นสารไดอิเล็กตริก /project-biology/item/5688-2016-09-09-03-41-05เพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (71191)
ให้คะแนน
To identify key transporters involved in cadmium transport systems, we screened the yeast deletion ...
Hits (74166)
ให้คะแนน
การศึกษานี้เป็นการศึกษาความเป็นพิษของสารสกัดจากโพธิ์ทะเล (Thespesia populnea) ที่มีต่อหนู (Mus ...
Hits (75795)
ให้คะแนน
This project has construct and test dual-magnetron sputtering thin film deposited source. For use ...