ผลของสาร TPA และอินเทอเฟรอน-แกรมมา ต่อการแสดงออกของยีน Cyclooxygenase-2 (COX-2) ใน ฮาคัดเซลล์ไลน์ (HaCaT cell line)
ชื่อผู้ทำโครงงาน
เกศินี จีรวัฒนนุกุล
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
วิสาตรี คงเจริญสุนทร และเกรียงศักดิ์ ฤชุศาสวัต
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
การทดลองนี้เป็นการทดสอบสารที่คาดว่าจะสามารถกระตุ้นการแสดงออกของยีน COX-2 ให้เพิ่มขึ้นได้ โดยทำการทดสอบกับเซลล์ HaCaT ด้วยสาร TPA ความเข้มข้น 0 , 10, 50, 100, 500 และ 1000 nM และทดสอบด้วยสาร IFN- γ ความเข้มข้น 0, 10, 50, 100, 250 และ 500 ng/ml และวัดการแสดงออกของยีน COX-2 ณ เวลาต่างๆ คือ 0, 15, 30 นาที 1, 2, 4, 8 และ 24 ชั่วโมง การตรวจสอบหาปริมาณยีน COX-2 ที่แสดงออกด้วยวิธี RT-PCR ผลการทดลองพบว่าสาร TPA ความเข้มข้น 500 nM ที่เวลา 2 ชั่วโมงและ IFN-γ ความเข้มข้น 100 ng/ml ที่ 30 นาที สามารถกระตุ้นการแสดงออกของยีน COX-2 ได้สูงที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลพื้นฐานสำคัญสำหรับการวิจัยในการใช้สารกระตุ้น หรือยั้บยั้งต่อเซลล์ HaCaT ต่อไป
คำสำคัญ
สาร,TPA,อินเทอเฟรอน,แกรมมา,ยีน,คัด,เซลล์,ไลน์
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
เกศินี จีรวัฒนนุกุล
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5754 ผลของสาร TPA และอินเทอเฟรอน-แกรมมา ต่อการแสดงออกของยีน Cyclooxygenase-2 (COX-2) ใน ฮาคัดเซลล์ไลน์ (HaCaT cell line) /project-biology/item/5754-tpa-cyclooxygenase-2-cox-2-hacat-cell-lineเพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (81428)
ให้คะแนน
จำนวนกำลังสอง (Square number) เป็นจำนวนเต็มบวกชนิดหนึ่งในคณิตศาสตร์ที่น่าสนใจ ...
Hits (76196)
ให้คะแนน
โครงงานนี้เกี่ยวข้องกับการจำลองโครงสร้างจริงของอุปกรณ์โฟโตไดโอดชนิดควอนตัมดอทแบบ Lens shaped ของ ...
Hits (115260)
ให้คะแนน
โครงงานนี้มีจุดประสงค์เพื่อทำเต้าหู้จากเมล็ดกระถินยักษ์ สารตกตะกอนที่เหมาะสมคือ แมกนีเซียมคอลไรด์ ...