A Random walk of particles along A Random
ผลจากการศึกษาพบว่า “เมื่อสนามแม่เหล็กข้ามผ่านแบบแฉลบ (Multiple Crossing คือกรณีแบบเฉี่ยว ๆ )กับคลื่นกระแทกทำให้พลังงานของสนามแม่เหล็กเพิ่มขึ้น” อนุภาคจะมีการข้ามคลื่นกระแทกกลับไปกลับมา ซึ่งสามารถนำความรู้นี้มาคำนวณหาความน่าจะเป็น (propability) และรูปร่างการข้ามในความน่าจะเป็นหนึ่ง ๆ โดยวิธี Binomial Theorem โดยจาก Binomial Theorem จะนำมาแก้ปัญหารูปแบบการข้ามผ่านของอนุภาครังสีคอสมิก ได้โดยใช้วิธีทางคณิตศาสตร์ได้ว่า รูปแบบการเดินที่จะถึง N ได้เป็น ถ้า n คือจำนวนการเดินทางทั้งหมด N คือจำนวนการตัดคลื่นกระแทกไปถึง N R คือการเดินไปทางขวา L คือการเดินทางไปทางซ้าย รูปแบบการเดินที่เป็นไปได้ทั้งหมดสำหรับการข้ามผ่านของอนุภาครังสีคอสมิก การเดินแต่ละครั้งจะมีโอกาสเป็น 50% จะได้ P (ความน่าจะเป็น) ของการเดิน n ครั้ง จะได้ จากข้างต้น จะใช้ค่าการเดินข้ามผ่านคลื่นกระแทกของอนุภาครังสีคอสมิก (n) และรูปแบบการเดินมาคำนวณความเป็นไปได้ในการที่อนุภาคจะข้ามคลื่นกระแทก โดยการเขียนโปรแกรมภาษา c ซึ่งเป็นการคำนวณหาค่าโดยอัตโนมัติ โดยกำหนดค่า n และค่า N ต่าง ๆ นำไปแทนค่าในโปรแกรมหาค่า n เฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก โดยใช้ค่า W เป็นตัวถ่วงน้ำหนักของแต่ละค่า n แล้วนำค่าเฉลี่ยที่ได้ไปหาความสัมพันธ์กับ ค่า N จะได้ค่า n เฉลี่ยมีค่าเท่ากับ
-
5041 A Random walk of particles along A Random /project-chemistry/item/5041-a-random-walk-of-particles-along-a-randomเพิ่มในรายการโปรด