การเปรียบเทียบการแสดงออกของยีนในรากและใบหนอนตายหยาก (Stemona curtisii) โดย cDNA-Amplified Fragment Length Polymorphism (cDNA-AFLP)
ชื่อผู้ทำโครงงาน
เอื้อมพร เอี่ยมแพร
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ผศ. ดร. ศรีสุลักษณ์ ธีรานุพัฒนา
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
หนอนตายหยากเป็นพืชสมุนไพรที่มีสารออกฤทธิ์ในกลุ่มอัลคาลอยด์ (alkaloids) ซึ่งพบมากในรากแต่พบน้อยหรือไม่พบในใบ มีคุณสมบัติในการฆ่าแมลงศัตรูพืช ดังนั้นการศึกษานี้จึงเปรียบเทียบการแสดงออกของยีน (gene expression) ในส่วนของรากและใบของต้นหนอนตายหยาก (Stemona curtisii) โดยใช้วิธี cDNA-Amplified Fragment Length Polymorphism (cDNA-AFLP) การคัดเลือกไพรเมอร์เพื่อหาคู่ไพรเมอร์ที่เหมาะสมต่อการศึกษา จะคัดเลือกจากไพรเมอร์ 4 ตัว จับคู่กัน 4 แบบ พบว่าจำนวนคู่ไพรเมอร์ทั้ง 4 แบบ สามารถทำให้เกิดแถบดีเอ็นเอที่มีความแตกต่างระหว่างรากและใบ โดยลายพิมพ์ดีเอ็นเอที่ได้มีความคมชัด
คำสำคัญ
ยีน,ราก,ใบ,หนอน,ตาย,หยาก
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
เอื้อมพร เอี่ยมแพร
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5424 การเปรียบเทียบการแสดงออกของยีนในรากและใบหนอนตายหยาก (Stemona curtisii) โดย cDNA-Amplified Fragment Length Polymorphism (cDNA-AFLP) /project-chemistry/item/5424-stemona-curtisii-cdna-amplified-fragment-length-polymorphism-cdna-aflpเพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (75426)
ให้คะแนน
การปนเปื้อนของแคดเมียมทั้งในดินและน้ำบริเวณลุ่มน้ำแม่ตาว อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ...
Hits (74684)
ให้คะแนน
การวัดค่าสัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีเชิงเส้นของวัสดุกำบังรังสีแกมมา โดยใช้วัสดุตัวอย่าง 6 ...
Hits (73316)
ให้คะแนน
ในโลกของเรานี้ มีสารเคมีที่มนุษย์เราผลิตขึ้นประมาณ 600,00 ชนิด ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ ...