หัวกำเนิดพลาสมาจากการอาร์คในสุญญากาศ
ชื่อผู้ทำโครงงาน
ฉัตรชัย พรมสุ้ย
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
พิษณุ พูลเจริญศิลป์
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
โครงงานนี้มีจุดประสงค์เพื่อสร้างและทดสอบหัวกำเนิดพลาสมาจากการอาร์คในสุญญากาศแบบพัลส์ โดยใช้ทองแดง อะลูมิเนียม และสแตนเลสเป็นขั้วแคโทด พบว่า กระแสอาร์คมีค่าสูงสุดประมาณ 120A และ สามารถ พบสเปกตรัมการเปล่งแสงของทองแดง อะลูมิเนียม และสแตนเลส ได้แก่ Cu I Cu II Cu III Al I Al II Al III Fe I Fe II Cr I และ Cr II ตามลำดับ โดยสเปกตรัมไอออนจะมีความเข้มสูงกว่าอะตอม ด้วยเทคนิค หัววัดของแลงเมียร์(ไม่มีการไบแอส) พบว่า กระแสจากหัววัดมีค่าสูงสุดประมาณ -20 A เทียบกับกระแสอาร์ค และในขณะที่มีท่อโซลินอยด์แนวตรงระหว่างหัวกำเนิดและหัววัด กระแสสูงสุดจะมีค่าประมาณ –12A
คำสำคัญ
กำเนิด,พลาสมา,อาร์ค,สุญญากาศ
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
ฉัตรชัย พรมสุ้ย
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5664 หัวกำเนิดพลาสมาจากการอาร์คในสุญญากาศ /project-chemistry/item/5664-2016-09-09-03-40-59-5664เพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (78898)
ให้คะแนน
จากการสังเคราะห์ CIGS (Cu(In,Ga)0.5Se2) ด้วยวิธีทางสารละลายซึ่งมีวิธีการคือ เตรียมสารละลายของ ...
Hits (76062)
ให้คะแนน
ได้พัฒนาวิธีหาปริมาณความต้องการออกซิเจนทางเคมี (ซีโอดี) แบบใหม่ โดยใช้ระบบ ...