การศึกษาผลกระทบของแคดเมียมต่อไม้ดอกดาวเรือง
การปนเปื้อนของแคดเมียมทั้งในดินและน้ำบริเวณลุ่มน้ำแม่ตาว อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ก่อให้เกิดปัญหาการสะสมของแคดเมียมปริมาณสูงในข้าว อันเป็นผลให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจกับเกษตรกรผู้ปลูกข้าวเป็นอาชีพหลัก เนื่องจากการปลูกข้าวไม่สามารถทำต่อไปได้ในพื้นที่ จึงมีความพยายามที่จะค้นคว้าหาพืชทดแทนเพื่อนำมาปลูกในบริเวณดังกล่าวแทนข้าว ในการศึกษาครั้งนี้ได้ศึกษาถึงผลกระทบของแคดเมียมต่อดาวเรือง ซึ่งเป็นไม้ดอกเศรษฐกิจที่สำคัญ โตเร็วและมีศักยภาพที่จะใช้ปลูกทดแทนข้าวได้ โดยทดลองปลูกดาวเรืองในความเข้มข้นของแคดเมียมและระยะเวลาที่แตกต่างกัน การทดลองแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. การศึกษาผลกระทบของแคดเมียมต่ออัตราการงอกของเมล็ดดาวเรือง พบว่าความเข้มข้นของแคดเมียมที่สูงขึ้น ทำให้อัตราการงอกของเมล็ดลดลง โดยที่ความเข้มข้น 7 และ 9 มิลลิกรัมแคดเมียมต่อลิตร อัตราการงอกจะลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p iment concerned the effect of Cd on the seed germination. Marigold’s seeds were cultured in the trays with various exposure time and Cd concentration. The seed germination was significantly (p roponic system which also varies the time exposure and Cd concentration was used in this section. From the results, the longer the exposure time, the lower the chlorophyll concentration plant biomass and Cd accumulation in marigold plant (p
-
6338 การศึกษาผลกระทบของแคดเมียมต่อไม้ดอกดาวเรือง /project-chemistry/item/6338-2016-09-09-03-49-15-6338เพิ่มในรายการโปรด