การพัฒนาระบบการนำส่งยีนโดยใช้ Agrobacterium tumefaciens สู่ ใบยาสูบ (Nicotiana tobaccum) และ ผำน้ำ (Wolffia globosa)
วิธีการที่ใช้สำหรับนำส่งยีนสู่พืช โดยใช้ Agrobacterium tumefaciens ในการช่วยถ่ายยีน ซึ่งในการใช้ agrobacterium ก็มีข้อจำกัดคือ ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนพืชเจ้าบ้านจะต้องทำการทดสอบหาระบบที่เหมาะสมในการนำส่งยีน ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการนำส่งยีนเพื่อเป็นระบบมาตรฐานในการนำส่งยีนเข้าสู่พืชเจ้าบ้านต้นแบบคือ ผำน้ำ (Wolffia globosa) และยาสูบ(Nicotiana tobaccum) โดยขั้นต้นทำการหาความเข้มข้นของยาปฏิชีวนะเพื่อเป็น Selectable marker โดยพบว่าความเข้มข้นที่เหมาะสมคือ Kanamycin ที่ 40 mg/l และ 10 mg/l hygromycin ที่40 mg/l และ 7.5 mg/l สำหรับ tobacco และผำตามลำดับ และความเข้มข้นของยาปฏิชีวนะ Cefataxime ที่ใช้ในการทำลาย คือ 300 และ 250 mg/l สำหรับ tobacco และผำตามลำดับ จากนั้นผู้วิจัยได้เปรียบเทียบประสิทธิภาพของสายพันธุ์ของ agrobacterium คือ LBA4404, EHA105,C58PMP90, และ GV2260 โดยผลการทดลองจะทำการอภิปรายภายหลัง --------------------------------------------------------------------------------------- One of the most powerful way is Agrobacterium tumefaciense mediated transformation. However, when the gene will be transfoemed into any new host plants, transformation protocols have to be validateed. This project was propose to validate the system for Nicotiana tobaccum cultivar Petit Havana (tobacco) and Wolffia globosa (kai-nam) gene transformation by using agrobacterium.These systems would be used as standard systems for future use. antibiotics concentrations in plant culture media for selectable markers (kanamycin and hygromycin) and for elimination of agrobacterium after transformation (Cefataxime), the results showed that in tobacco,kanamycin at 40 mg/l and hygromycin at 40 mg/l of COM media were suitable concentrations for selection. Cefataxime at 300 mg/l was suitable cocentrations for agrobacterium elimination. Whereas, in wolffia, kanamycin at 10 mg/l and hygromycin at 7.5 mg/l were effective concentration for selection, and cefataxime at 250 mg/l was efficient to eliminate agrobacterium. 2. Comparison of transformation efficiency by various agrobacterium strains; LBA4404, AGLO, C58PMP90, and GV2260. The results in this part will be discuss further.
-
6344 การพัฒนาระบบการนำส่งยีนโดยใช้ Agrobacterium tumefaciens สู่ ใบยาสูบ (Nicotiana tobaccum) และ ผำน้ำ (Wolffia globosa) /project-chemistry/item/6344-agrobacterium-tumefaciens-nicotiana-tobaccum-wolffia-globosaเพิ่มในรายการโปรด