การศึกษาสารเชิงซ้อนคอปเปอร์(II) ของอะมิดิโนโออัลคิลยูเรีย เพื่อเป็นสารทำลายดีเอ็นเอ
ชื่อผู้ทำโครงงาน
สุนทร สุวอเขียวและลัดดา กรมบัวภา
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ผศ.ดร.อัญชุลี สุกแสงปัญญา
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
เคมี
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
ในโครงงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาอันตรกิริยาระหว่างไซโตซีนกับสารเชิงซ้อนคอปเปอร์(II) ของอะมิดิโนโออัลคิลยูเรีย 4 ชนิด คือ [Cu(aOmu)X2] และ [Cu(aOeu)X2] เมื่อ aOmu คือ อะมิดิโนโอเมทิล ยูเรีย และ aOeu คือ อะมิดิโนโอเอทิลยูเรีย; X คือ Cl- หรือ Br- ผลิตภัณฑ์ที่ได้นำมาวิเคราะห์ด้วยเทคนิค อินฟาเรดสเปกโทรโฟโตเมททรี และเทคนิคดิฟฟิวส์รีเฟลกแตนสเปกโทรโฟโตเมททรี จากผลการทดลองชี้ให้เห็นว่าไซโตซีนสามารถโคออร์ดิเนตกับคอปเปอร์(II) ได้ผลิตภัณฑ์เป็น [Cu(aOmu)(cytosine)2]X2 และ [Cu(aOeu)(cytosine)2]X2
คำสำคัญ
สาร,เชิง,ซ้อน,คอปเปอร์,อะ,มิ,ดิ,โน,โอ,อัล,คิล,ยูเรีย,ดี,เอ็น,เอ
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
สุนทร สุวอเขียวและลัดดา กรมบัวภา
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5493 การศึกษาสารเชิงซ้อนคอปเปอร์(II) ของอะมิดิโนโออัลคิลยูเรีย เพื่อเป็นสารทำลายดีเอ็นเอ /project-computer/item/5493-ii-5493เพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (87505)
ให้คะแนน
การศึกษา เรื่อง ผลของความเค็มต่อการเพิ่มจำนวนเซลล์ของสเกลีโตนีมา คอสตาตัม (Skeletonema Costatum) ...
Hits (78742)
ให้คะแนน
ผลจากการศึกษาพบว่า “เมื่อสนามแม่เหล็กข้ามผ่านแบบแฉลบ (Multiple Crossing คือกรณีแบบเฉี่ยว ๆ ...