การเตรียมชั้นอนุภาคนาโนคอปเปอร์ออกไซด์บนกระจกด้วยวิธีเอเควียสเคมิคัลโกรธ์สำหรับใช้เป็น ขั้วแคโทดในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง
ชื่อผู้ทำโครงงาน
ณัฐพงษ์ กุมพันธ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ทวีศักดิ์ สุดยอดสุข
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
เคมี
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
ได้เตรียมชั้นอนุภาคนาโนคอปเปอร์ออกไซด์ (CuO) บนกระจกด้วยวิธีเอเควียสเคมิคัลโกรธ์ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้เป็นขั้วแคโทดในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง โดยเตรียมจากปฏิกิริยาของคอปเปอร์(II)อะซิเตตโมโนไฮเดรต (Cu(CH3COO)2.H2O) กับสารละลายเฮกซะเมทิลลีนเตตระมีน (C6H12N4) ที่อุณหภูมิ 90 ºC แล้วผ่านการเผาที่อุณหภูมิ 500 ºC เป็นเวลา 30 นาที ทำการพิสูจน์เอกลักษณ์ของชั้น คอปเปอร์ออกไซด์ด้วยเทคนิค XRD, FT-IR และ SEM พบว่าอนุภาคคอปเปอร์ออกไซด์ที่เคลือบบนกระจก มีโครงสร้างผลึกเป็นโมโนคลินิก มีขนาดผลึกเฉลี่ยอยู่ในช่วง 10-20 นาโนเมตร
คำสำคัญ
อนุภาค,นา,โน,คอปเปอร์,ออกไซด์,กระจก,เอ,เควียส,เค,มิ,คัลโ,กรธ์,แสง,อาทิตย์
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
ณัฐพงษ์ กุมพันธ์
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5496 การเตรียมชั้นอนุภาคนาโนคอปเปอร์ออกไซด์บนกระจกด้วยวิธีเอเควียสเคมิคัลโกรธ์สำหรับใช้เป็น ขั้วแคโทดในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง /project-computer/item/5496-2016-09-09-03-38-58-5496เพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (76778)
ให้คะแนน
โครงงานนี้ เป็นการศึกษาและพัฒนาเทคนิคในการรู้จำตัวเลขอาราบิก ...
Hits (74509)
ให้คะแนน
งานวิจัยนี้ศึกษาและออกแบบเครื่องอบแห้งที่มี 2 ส่วน ส่วนบนกว้าง 100 เซนติเมตร ยาว 100 เซนติเมตร ...
Hits (82472)
ให้คะแนน
การศึกษาความคล้ายคลึงระหว่างกลุ่มของสายดีเอ็นเอหรือโปรตีนตั้งแต่ 2 สายขึ้นไป (Multiple Sequence ...