การศึกษาสารสกัดสาหร่ายสีน้ำตาล Turbinaria conoides ในตัวทำละลายเมทานอลต่อเอทิลอะซิเตต (1:1) และการศึกษาฤทธิ์ต้านการออกซิเดชันของฟองน้ำตาข่ายสีน้ำเงิน Dysidea sp
ชื่อผู้ทำโครงงาน
ศิริวิมล หมวกทอง
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
จงกลนี จงอร่ามเรือง
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
เคมี
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
ในการศึกษาทดลองครั้งนี้ได้ทำการสกัดสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากสาหร่ายสีน้ำตาล Turbinaria conoides ด้วยตัวทำละลายเมทานอลต่อเอทิลอะซิเตต (1:1) และทำการแยกต่อด้วย ไดคลอโรมีเทน จากนั้นนำสารสกัดที่ได้มาแยกโดยใช้ เทคนิคแฟลชคอลัมน์โครมาโทกราฟีและเทคนิคเพรพาราทิฟธินเลเยอร์โครมาโทกราฟี แล้วนำไปวิเคราะห์คุณภาพด้วย เทคนิคทินเลเยอร์โครมาโทกราฟีและทดสอบฤทธิ์ต้านการออกซิเดชันทำการพิสูจน์เอกลักษณ์ด้วยเทคนิคโปรตอน และคาร์บอนนิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์สเปกโตรสโคปี นอกจากนี้ได้ทำการทดสอบฤทธิ์ต้านการออกซิเดชันของฟองน้ำตาข่ายสีน้ำเงิน Dysidea sp ซึ่งเป็นส่วนที่ได้จากเซลล์ในเมทานอลและทำการพิสูจน์เอกลักษณ์ด้วยเทคนิคโปรตอนนิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์สเปกโตรสโคปี
คำสำคัญ
สาร,สาหร่าย,สี,น้ำตาล,เมทานอล,เอทิล,อะซิเตต,ฟอง,น้ำ,ตา,ข่าย,สี,น้ำเงิน
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
ศิริวิมล หมวกทอง
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5534 การศึกษาสารสกัดสาหร่ายสีน้ำตาล Turbinaria conoides ในตัวทำละลายเมทานอลต่อเอทิลอะซิเตต (1:1) และการศึกษาฤทธิ์ต้านการออกซิเดชันของฟองน้ำตาข่ายสีน้ำเงิน Dysidea sp /project-computer/item/5534-turbinaria-conoides-1-1-dysidea-spเพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (77233)
ให้คะแนน
การศึกษาการกำจัดโลหะแมงกานีสออกจากสารละลายตัวอย่างน้ำทิ้งโดยใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร คือ ...