การศึกษาปรากฏการณ์เลนส์โน้มถ่วง
ชื่อผู้ทำโครงงาน
ศิรประภา สรรพอาษา
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
มณีเนตร เวชกามา
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
ปรากฏการณ์เลนส์โน้มถ่วง (Gravitational Lensing) เกิดขึ้นเมื่อแสงที่เดินทางมาจากแหล่งกำเนิดแสงซึ่งมีความสว่างสูง เช่น ควอซาร์ (Quasar) ที่ระยะทางไกลมากๆถูกเบี่ยงเบนโดยปริภูมิ (space) ที่โค้งงอรอบวัตถุที่มีมวลมากซึ่งอยู่ระหว่างแหล่งกำเนิดและผู้สังเกต ทำให้ภาพที่ได้จากการสังเกตมีลักษณะพิเศษ กล่าวคือภาพอาจมีลักษณะเป็นวงแหวนแบบไอน์สไตน์ (Einstein rings) หรือเกิดเป็นภาพหลายภาพ ขึ้นอยู่กับชนิดของปรากฏการณ์เลนส์โน้มถ่วง ซึ่งมุมที่แสงเบี่ยงเบนไปนี้สามารถคำนวณได้จากทั้งทฤษฎีความโน้มถ่วงแบบนิวตัน และทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยไอน์สไตน์ โดยการศึกษานี้จะแสดงการคำนวณหารัศมีเชิงมุมของวงแหวนแบบไอน์สไตน์ คำนวณหาตำแหน่งการเกิดภาพที่เบี่ยงเบนไปจากตำแหน่งเดิมของวัตถุ และกำลังการขยายภาพของเลนส์โน้มถ่วงโดยการใช้วิธีทางเรขาคณิต
คำสำคัญ
เลนส์,โน้ม,ถ่วง
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
ศิรประภา สรรพอาษา
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5557 การศึกษาปรากฏการณ์เลนส์โน้มถ่วง /project-mathematics/item/5557-2016-09-09-03-39-18-5557เพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (73404)
ให้คะแนน
จากการศึกษาจำนวนโครโมโซมของปลาเซลฟิน (Poecilia velifera) และปลาเซลฟิน มอลลี่(Poecilia latipinna) ...
Hits (80686)
ให้คะแนน
10 วิธีหยุดโลกร้อน (10 Method Stop Green House Effect) 10 วิธีหยุดโลกร้อน (10 Method Stop Green ...
Hits (81397)
ให้คะแนน
ในระบบหุ่นยนต์เคลื่อนที่อัตโนมัติ (Autonomous Mobile Robot) ...