การเตรียมและสมบัติการดูดกลืนแสงของสีย้อมจากธรรมชาติเพื่อใช้เป็นเซนซิไทเซอร์ในเซลล์แสงอาทิตย์
ชื่อผู้ทำโครงงาน
วิสิทธิ์ ตามสีวัน
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ผศ.ดร.อุดม ทิพราช
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ได้ผลิตเซลล์แสงอาทิตย์สีย้อมไวแสงจากธรรมชาติ โดยสังเคราะห์TiO2 โครงสร้าง นาโน ขึ้นด้วยวิธี sol-gel และฟิล์ม TiO2 โครงสร้างนาโน ถูกสังเคราะห์ด้วยวิธี screen printing บนกระจก TCO ทดสอบโครงสร้างและสมบัติของฟิล์ม TiO2 ด้วยเครื่อง X-ray diffraction และเครื่อง Scanning electron microscopy (SEM) สีย้อมไวแสงเตรียมจากน้ำคั้นผลหม่อน(mulberry, Morus alba Linn.) กับน้ำคั้นผลหม่อนผสมสารละลายและกรดต่างชนิดกัน อุณหภูมิที่ต่างกัน ทดสอบค่าการดูดกลืนแสงของฟิล์ม TiO2 ที่ถูกย้อมด้วยสีย้อมไวแสงที่เตรียมได้ด้วยเครื่อง UV-visible Spectrometer ทดสอบเซลล์แสงอาทิตย์ที่ใช้สีย้อมไวแสงที่เตรียมได้พบว่าให้ค่าฟิลล์แฟกเตอร์(fill factor, FF ) และประสิทธิภาพการแปลงพลังงาน(energy conversion efficiency, η ) เท่ากับ 0.39 – 0.53 และ 0.007% - 0.048% ตามลำดับ
คำสำคัญ
ดูด,กลืน,แสง,สี,ย้อม,เซนซิไทเซอร์,เซลล์,แสง,อาทิตย์
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
วิสิทธิ์ ตามสีวัน
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5670 การเตรียมและสมบัติการดูดกลืนแสงของสีย้อมจากธรรมชาติเพื่อใช้เป็นเซนซิไทเซอร์ในเซลล์แสงอาทิตย์ /project-mathematics/item/5670-2016-09-09-03-41-00-5670เพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (70873)
ให้คะแนน
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาปริมาณสารเคอร์คูมินในแคปซูลขมิ้นชัน ...
Hits (81185)
ให้คะแนน
โลกที่เราอาศัยอยู่นี้มีสิ่งมีชีวิตมากมายอาศัยอยู่ สิ่งชีวิตมีหลายชนิดทั้งที่เป็นพืช สัตว์ เห็ด รา ...
Hits (77676)
ให้คะแนน
เดิมทีพื้นที่ประเทศไทยส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่ทำการเกษตรไม่ว่าจะเป็นการทำนาข้าว การทำไร่ ทำสวน ...