การพัฒนาสีธรรมชาติที่สกัดจากกระเจี๊ยบและครั่ง เพื่อใช้สำหรับเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดดายเซนซิไทส์แบบ ของแข็ง
ชื่อผู้ทำโครงงาน
วิภาวี สดใสญาติ
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ดร.มาริสา อรัญชัยยะ
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
เคมี
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
ในการทดลองนำสีที่สกัดจากดอกกระเจี๊ยบ และ Carminic acid (CA) จากครั่งมาเติม Zn2+,Al3+,Cu2+, Sn2+ และ Sn4+ พบว่าสีจากดอกกระเจี๊ยบเกิดตะกอนสีเทาเมื่อเติม Sn2+ ขณะที่ CA เกิดตะกอนสีชมพูเมื่อเติม Sn2+ และ Sn4+ ตะกอนที่เกิดขึ้นคาดว่าเป็นสารเชิงซ้อนระหว่างโลหะและสี เมื่อทดสอบคุณสมบัติการละลายของตะกอนที่ได้ พบว่าตะกอนไม่ละลายในตัวทำละลายหลายชนิด เมื่อนำตะกอนที่ได้ใช้เป็นเซนซิไทเซอร์ พบว่าเซลล์แสงอาทิตย์มีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนพลังงานเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับสีที่ไม่เติมโลหะ
คำสำคัญ
สี,กระ,เจี๊ยบ,ครั่ง,เซลล์,แสง,อาทิตย์,เซน,ซิ,ไทส์
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
วิภาวี สดใสญาติ
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5890 การพัฒนาสีธรรมชาติที่สกัดจากกระเจี๊ยบและครั่ง เพื่อใช้สำหรับเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดดายเซนซิไทส์แบบ ของแข็ง /project-mathematics/item/5890-2016-09-09-03-43-06เพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (79410)
ให้คะแนน
จากการศึกษาความหลากหลายของพืชกลุ่มไบรโอไฟต์ บริเวณศูนย์รวมพรรณไม้บ้านร่มเกล้าในพระราชดำริ ...
Hits (83239)
ให้คะแนน
งานวิจัยนี้จะทำการค้นหาเชื้อราที่สามารถสร้างเอนไซม์ chitinase ซึ่งมีประโยชน์มากทั้งในด้านการเกษตร ...
Hits (87915)
ให้คะแนน
การที่นำตัวเลขตั้งแต่ 1 ถึง n² เมื่อ nเป็นขนาดของเมตริกซ์จตุรัส ซึ่งผลรวมของแต่ละแถวแต่ละสดมภ์ ...