การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีจากรากหางนกยูงไทย (Caesalpinea pulcherrima)
ชื่อผู้ทำโครงงาน
จุฑารัตน์ สังขนุกิจ
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ฉัตรชนก กะราลัย และ ชนิตา พงษ์ลิมานนท์
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
เคมี
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
จากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของส่วนสกัดหยาบไดคลอโรมีเทนจากรากหางนกยูงไทย(Caesalpinea pulcherrima) ด้วยวิธีทางโครมาโทกราฟีต่างๆ สามารถแยกสารที่มีการรายงานโครงสร้างมาแล้ว ซึ่งเป็นสารประเภท furanoid diterpene จำนวน 3 สาร คือ isovouacapenol-C, 6β-cinamoyl-7β-hydroxy-vouacapen-5α-ol และ pulcherrimin-E ซึ่งสามารถวิเคราะห์โครงสร้างสารเหล่านี้ด้วยข้อมูลทางสเปกโทรสโกปี และเปรียบเทียบกับข้อมูล 1H และ 13C NMR ที่ได้รายงานมาแล้ว
คำสำคัญ
เคมี,ราก,หาง,นก,ยูง,ไทย
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
จุฑารัตน์ สังขนุกิจ
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5909 การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีจากรากหางนกยูงไทย (Caesalpinea pulcherrima) /project-mathematics/item/5909-caesalpinea-pulcherrimaเพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (80129)
ให้คะแนน
ในการทดลองนี้ได้ทำการคัดเลือกเชื้อราจากดินในพื้นที่ที่พบการปนเปื้อนของแคดเมียมสูง (0. 15 – 56.90 ...
Hits (70382)
ให้คะแนน
จากการศึกษาและเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพของยางแผ่นดิบชั้นที่ 1 – ชั้นที่ 4 พบว่า ความกว้าง น้ำหนัก ...
Hits (75222)
ให้คะแนน
ในปัจจุบันเรื่องของการรักษาความปลอดภัยเป็นสิ่งที่สำคัญและกำลังได้รับความสนใจ ...