การศึกษาปรากฏการณ์เลนส์โน้มถ่วง
ชื่อผู้ทำโครงงาน
ศิรประภา สรรพอาษา
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
มณีเนตร เวชกามา
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
ปรากฏการณ์เลนส์โน้มถ่วง (Gravitational Lensing) เกิดขึ้นเมื่อแสงที่เดินทางมาจากแหล่งกำเนิดแสงซึ่งมีความสว่างสูง เช่น ควอซาร์ (Quasar) ที่ระยะทางไกลมากๆถูกเบี่ยงเบนโดยปริภูมิ (space) ที่โค้งงอรอบวัตถุที่มีมวลมากซึ่งอยู่ระหว่างแหล่งกำเนิดและผู้สังเกต ทำให้ภาพที่ได้จากการสังเกตมีลักษณะพิเศษ กล่าวคือภาพอาจมีลักษณะเป็นวงแหวนแบบไอน์สไตน์ (Einstein rings) หรือเกิดเป็นภาพหลายภาพ ขึ้นอยู่กับชนิดของปรากฏการณ์เลนส์โน้มถ่วง ซึ่งมุมที่แสงเบี่ยงเบนไปนี้สามารถคำนวณได้จากทั้งทฤษฎีความโน้มถ่วงแบบนิวตัน และทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยไอน์สไตน์ โดยการศึกษานี้จะแสดงการคำนวณหารัศมีเชิงมุมของวงแหวนแบบไอน์สไตน์ คำนวณหาตำแหน่งการเกิดภาพที่เบี่ยงเบนไปจากตำแหน่งเดิมของวัตถุ และกำลังการขยายภาพของเลนส์โน้มถ่วงโดยการใช้วิธีทางเรขาคณิต
คำสำคัญ
เลนส์,โน้ม,ถ่วง
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
ศิรประภา สรรพอาษา
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5557 การศึกษาปรากฏการณ์เลนส์โน้มถ่วง /project-other/item/5557-2016-09-09-03-39-18-5557เพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (71373)
ให้คะแนน
การศึกษาเอกเทศด้านโปรแกรมวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบสารสนเทศหอพักนักศึกษา ...
Hits (76645)
ให้คะแนน
The purpose of this research was to study twenty – five samples in chokun tangerine soil keep from ...
Hits (72151)
ให้คะแนน
แม้ว่าจะมีการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการในการตอบสนองต่อเอธานอลของยีสต์ Saccharomyces cerevisiae ...