การเตรียมและสมบัติการดูดกลืนแสงของสีย้อมจากธรรมชาติเพื่อใช้เป็นเซนซิไทเซอร์ในเซลล์แสงอาทิตย์
ชื่อผู้ทำโครงงาน
วิสิทธิ์ ตามสีวัน
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ผศ.ดร.อุดม ทิพราช
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ได้ผลิตเซลล์แสงอาทิตย์สีย้อมไวแสงจากธรรมชาติ โดยสังเคราะห์TiO2 โครงสร้าง นาโน ขึ้นด้วยวิธี sol-gel และฟิล์ม TiO2 โครงสร้างนาโน ถูกสังเคราะห์ด้วยวิธี screen printing บนกระจก TCO ทดสอบโครงสร้างและสมบัติของฟิล์ม TiO2 ด้วยเครื่อง X-ray diffraction และเครื่อง Scanning electron microscopy (SEM) สีย้อมไวแสงเตรียมจากน้ำคั้นผลหม่อน(mulberry, Morus alba Linn.) กับน้ำคั้นผลหม่อนผสมสารละลายและกรดต่างชนิดกัน อุณหภูมิที่ต่างกัน ทดสอบค่าการดูดกลืนแสงของฟิล์ม TiO2 ที่ถูกย้อมด้วยสีย้อมไวแสงที่เตรียมได้ด้วยเครื่อง UV-visible Spectrometer ทดสอบเซลล์แสงอาทิตย์ที่ใช้สีย้อมไวแสงที่เตรียมได้พบว่าให้ค่าฟิลล์แฟกเตอร์(fill factor, FF ) และประสิทธิภาพการแปลงพลังงาน(energy conversion efficiency, η ) เท่ากับ 0.39 – 0.53 และ 0.007% - 0.048% ตามลำดับ
คำสำคัญ
ดูด,กลืน,แสง,สี,ย้อม,เซนซิไทเซอร์,เซลล์,แสง,อาทิตย์
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
วิสิทธิ์ ตามสีวัน
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5670 การเตรียมและสมบัติการดูดกลืนแสงของสีย้อมจากธรรมชาติเพื่อใช้เป็นเซนซิไทเซอร์ในเซลล์แสงอาทิตย์ /project-other/item/5670-2016-09-09-03-41-00-5670เพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (78089)
ให้คะแนน
The reverse transcriptase (RT) of human immunodeficiency virus type-1 (HIV-1) is the essential ...
Hits (73609)
ให้คะแนน
This research measured of gamma ray from daughter of radon gas in cement with sodium iodide ...
Hits (76023)
ให้คะแนน
Mosquitoes are well known as annoying biting pests and vectors of disease-causing agents to humans ...