การศึกษาเชื้อ Streptomyces spp. กับการเป็นปฎิปักษ์ต่อเชื้อ Colletotrichum musae สาเหตุโรคแอนแทรก โนสในกล้วยหอม
ชื่อผู้ทำโครงงาน
เสกสรรค์ บินศรี
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ดร.อภิเดช แสงดี ดร.รุ่งฤดี ทิวทอง และ ดร.อุดมลักษณ์ มณีโชติ
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบศักยภาพของเชื้อ Streptomyces spp. จำนวน 5 ไอโซเลต ได้แก่ LEF3, LEF6, LEF10, LEF11 และ RDC12 ในการยับยั้งเชื้อColletotrichum musae ที่แยกได้จากผลกล้วยหอมจำนวน 8 ไอโซเลต ได้แก่ NP (จ.นครพนม), SK (จ.สกลนคร), LE (จ.เลย), KK (จ.ขอนแก่น), RE (จ.ร้อยเอ็ด), YS (จ.ยโสธร), TD (จ.ตราด) และ BKK (จ.กรุงเทพฯ) ผลการทดสอบการยับยั้งโดยชีววิธี (bioassay) พบว่าเชื้อ Streptomyces spp. LEF11 มีศักยภาพในการยับยั้งโคโลนีของเชื้อ Colletotrichum musae ทั้ง 8 ไอโซเลต บนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA รองลงมาคือ Streptomyces spp. ไอโซเลต LEF10, RDC12,LEF3 และ LEF6 ตามลำดับ โดยมีบริเวณยับยั้งขนาดเท่ากับ4.0, 3.3, 2.7, 1.7และ 1.0 มม. ตามลำดับ
คำสำคัญ
เชื้อ,Streptomyces,Colletotrichum,musae,โรค,แอน,แทรก,โนส,กล้วย,หอม
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
เสกสรรค์ บินศรี
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5810 การศึกษาเชื้อ Streptomyces spp. กับการเป็นปฎิปักษ์ต่อเชื้อ Colletotrichum musae สาเหตุโรคแอนแทรก โนสในกล้วยหอม /project-other/item/5810-streptomyces-spp-colletotrichum-musaeเพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (69825)
ให้คะแนน
เนื่องจากสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กับกรอบอ้างอิงเฉื่อยของผู้สังเกต ...
Hits (79768)
ให้คะแนน
ในปัจจุบันอุตสาหกรรมการผลิตเกมคอมพิวเตอร์ เป็นอุตสาหกรรมที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและก้าวกระโดด ...
Hits (80081)
ให้คะแนน
จอมอนิเตอร์ประเภทซีอาร์ที (CRT) นั้นมีอัตราการกินไฟที่สูงมากเมื่อเทียบกับประเภทแอลซีดี (LCD) ...