การดูดซับไอออนของโลหะหนักโครเมียม (III) จากสารละลายตัวอย่างในระดับห้องปฏิบัติการโดยใช้ ซีโอไลต์ธรรมชาติ
ชื่อผู้ทำโครงงาน
นิธิภรณ์ ลักขษร
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
พรพรรณ พึ่งโพธิ์
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
เคมี
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
ได้ทำการศึกษาการประยุกต์ใช้ซีโอไลต์ธรรมชาติในการดูดซับไอออนของโครเมียม (III) จากน้ำตัวอย่างที่เตรียมในห้องปฏิบัติการ โดยใช้วิธีแบบกะ ตัวดูดซับที่นำมาศึกษา คือ ซีโอไลต์ธรรมชาติที่พบในบริเวณจังหวัดสงขลา จำนวน 7 ชนิด โดยกำหนดเป็นชนิด A, B, C, D, E, F และ G ตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่าซีโอไลต์ธรรมชาติชนิด A, C, D, E และ G มีประสิทธิภาพในการดูดซับสูงกว่า 90 % และพารามิเตอร์ที่เหมาะสมต่อการดูดซับ พบว่าปริมาณของซีโอไลต์ธรรมชาติชนิด A, C, D และ G คือ 30 g/L และ ชนิด Eคือ 40 g/L เวลาในการดูดซับ คือ 1 ชั่วโมง และเมื่อความเข้มข้นเริ่มต้นของสารละลายตัวอย่างเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ประสิทธิภาพการดูดซับไอออนโครเมียม (III) ลดลง จากการศึกษาไอโซเทอร์มของการดูดซับ พบว่าการดูดซับไอออนโครเมียม (III) ด้วยซีโอไลต์ธรรมชาติสอดคล้องกับฟรอยลิชมากกว่าแลงเมียร์ไอโซเทอร์ม
คำสำคัญ
ดูด,ซับ,ไอ,ออน,โล,หะ,หนัก,โคร,เมียม,ซี,โอ,ไลต์
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นิธิภรณ์ ลักขษร
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5871 การดูดซับไอออนของโลหะหนักโครเมียม (III) จากสารละลายตัวอย่างในระดับห้องปฏิบัติการโดยใช้ ซีโอไลต์ธรรมชาติ /project-other/item/5871-iii-5871เพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (74398)
ให้คะแนน
ได้ทำการเก็บตัวอย่างตะกอนท้องน้ำที่มีความลึกจากพื้นดินลงไปประมาณ 20-30 cm. ...
Hits (79837)
ให้คะแนน
กราฟ คือ เซตจำกัดของจุดและเส้น โดยที่เส้นจะเชื่อมระหว่างจุด 2 จุด และเราจะเรียกกราฟที่ทุกๆ 2 ...
Hits (78330)
ให้คะแนน
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขของประเทศไทย ทำให้เกิดโรคตับอักเสบเฉียบพลัน ...