การทดสอบสมบัติทางกลของแก้วบิสมัท – เลดโบโรซิลิเกต และแก้วแบเรียม-เลดโบโรซิลิเกต ที่ถูกฉายรังสีด้วยเทคนิคคลื่นเสียงอุลตร้าโซนิก
ชื่อผู้ทำโครงงาน
มยุรา จันทร์เพ็ชร
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
เรวัฒน์ เหล่าไพบูลย์
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
การวัดความเร็วคลื่นเสียงอุลตร้าโซนิกในแก้วบิสมัท – เลดโบโรซิลิเกต และแก้วแบเรียม – เลด โบ-โรซิลิเกต ในส่วนประกอบที่แตกต่างกัน ก่อนและหลังฉายรังสีแกมมา วัดที่อุณหภูมิห้องความถี่ 4 เมกะเฮิร์ท ด้วยเทคนิคคลื่นเสียงอุลตร้าโซนิก ข้อมูลความเร็วคลื่นเสียงอุลตร้าโซนิกใช้คำนวณหาคุณสมบัติความยืดหยุ่นและค่าความแข็ง ความหนาแน่นของแก้วตัวอย่างวัดโดยใช้หลักการของอาคิมิดีส โดยของเหลวที่ใช้จุ่ม คือ เอ็นเฮ็กเซน ซึ่งพบว่าความเร็วคลื่นเสียงอุลตร้าโซนิก คุณสมบัติความยืดหยุ่นและค่าความแข็งมีค่าเพิ่มขึ้นตามปริมาณสารประกอบบิสมัทออกไซด์ แบเรียมออกไซด์ที่เติม และปริมาณรังสีที่ฉายในช่วง 3 - 9 Gy
คำสำคัญ
กล,แก้ว,บิสมัท,เลด,โบโร,ซิลิเกต,แบเรียม,ฉาย,รังสี,คลื่น,เสียง,อุลตร้า,โซนิก
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
มยุรา จันทร์เพ็ชร
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5682 การทดสอบสมบัติทางกลของแก้วบิสมัท – เลดโบโรซิลิเกต และแก้วแบเรียม-เลดโบโรซิลิเกต ที่ถูกฉายรังสีด้วยเทคนิคคลื่นเสียงอุลตร้าโซนิก /project/item/5682-2016-09-09-03-41-04-5682เพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (79616)
ให้คะแนน
บทความนี้ทำการศึกษาหาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตเชื้อเพลิง RDF – 5 (Refuse Derived Fuel 5) ...