ในปัจจุบันมีการสร้างพลาสมิดที่มีส่วนของยีนที่ต้านยาปฏิชีวนะ เช่น ยีนต้านยา
แอมพิซิลลิน (
amp
R
) เพื่อใช้เป็นเครื่องหมายในการคัดเลือก (selectable marker)
เซลล์แบคทีเรียที่ได้รับพลาสมิดจะเจริญได้ในอาหารเลี้ยงเชื้อที่ใส่ยาปฏิชีวนะแอมพิซิลลิน
อย่างไรก็ตามเซลล์แบคทีเรียที่ได้รับพลาสมิดทุกเซลล์จะเจริญได้แม้ว่าพลาสมิดที่อยู่ในเซลล์
นั้นจะไม่มีชิ้น DNA ที่ต้องการแทรกอยู่จึงไม่สามารถบอกได้ว่า แบคทีเรียที่เจริญนั้นมีดีเอ็นเอ
รีคอมบิแนนท์หรือไม่ ดังนั้นในพลาสมิดจึงใส่ยีน
Lac
Z ที่ควบคุมการสร้างเอนไซม์
beta- galactosidase เพื่อใช้เป็นยีนรายงานผล (reporter gene) ว่าพลาสมิดในเซลล์แบคทีเรีย
นั้นมี DNA แทรกอยู่หรือไม่
โดยในอาหารเลี้ยงเชื้อจะใส่สาร IPTG
ที่ช่วยเหนี่ยวนำ�การสร้างเอนไซม์ และใส่สาร
X - gal ที่เป็นสารตั้งต้น เอนไซม์นี้จะย่อย
สารตั้งต้นจากไม่มีสีให้เป็นสารสีฟ้าทำ�ให้เซลล์
ที่ได้รับดีเอ็นเอรีคอมบิแนนท์จะมีลักษณะที่
แตกต่างจากเซลล์ที่ได้รับเฉพาะพลาสมิด
นอกจากนี้ในยีน
Lac
Z มีตำ�แหน่งตัดจำ�เพาะ
ของเอนไซม์ตัดจำ�เพาะชนิดต่าง ๆ ที่สามารถ
ตัดและแทรกชิ้น DNA เข้าไปได้
Eco
RI
Xma
I
Pst
I
Hind
III
LacZ
amp
R
ตำแหน�งตัดจำเพาะ
ตำแหน�งตัดจำเพาะ
สาย DNA ที่มียีนที่ต�องการ
ตัดพลาสมิดและสาย DNA
ด�วยเอนไซม�ตัดจำเพาะ
ชนิดเดียวกัน
พลาสมิด
ผสมพลาสมิดและสาย DNA
ที่ตัดด�วยเอนไซม�ตัดจำเพาะแล�ว
สาย DNA เชื่อมต�อกับพลาสมิด
ด�วยเอนไซม�ดีเอ็นเอไลเกส
ได�ดีเอ็นเอรีคอมบิแนนท�
Eco
RI
Xma
I
Pst
I
Hind
III
LacZ
amp
R
ตำแหน�งตัดจำเพาะ
ตำแหน�งตัดจำเพาะ
สาย DNA ที่มียีนที่ต�องการ
ตัดพลาสมิดและสาย DNA
ด�วยเอนไซม�ตัดจำเพาะ
ชนิดเดียวกัน
พลาสมิด
ผสมพลาสมิดและสาย DNA
ที่ตัดด�วยเอนไซม�ตัดจำเพาะแล�ว
สาย DNA เชื่อมต�อกับพลาสมิด
ด�วยเอนไซม�ดีเอ็นเอไลเกส
ได�ดีเอ็นเอรีคอมบิแนนท�
ความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับครู
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 6 | เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
ชีววิทยา เล่ม 2
153