เมื่อมี DNA แทรกในยีน
Lac
Z บนพลาสมิด ยีนนั้นไม่สามารถสร้างเอนไซม์ที่ทำ�งานได้
จึงไม่ย่อยสารตั้งต้นให้สารสีฟ้า โคโลนีบนอาหารเลี้ยงเชื้อจึงเป็นสีขาว แต่ถ้าไม่มี DNA แทรก
ยีนจะทำ�งานได้ สร้างเอนไซม์ย่อยสารตั้งต้นได้สารสีฟ้า โคโลนีบนอาหารเลี้ยงเชื้อจึงเป็นสีฟ้า
ดังนั้นสีของโคโลนีจึงบอกได้ว่าเซลล์แบคทีเรียได้รับดีเอ็นเอรีคอมบิแนนท์หรือไม่ เรียกวิธี
การคัดเลือกนี้ว่า blue white screening
พลาสมิดที่มี DNA แทรก
บริเวณยีน
Lac
Z ถูกใส่เข้าไป
ในเซลล์แบคทีเรีย
ไม่มีการแสดงออกของยีน
Lac
Z
และแบคทีเรียไม่สร้างเอนไซม์
ไม่มีเอนไซม์ย่อย
สารตั้งต้น ทำ�ให้
มองเห็นโคโลนีของ
แบคทีเรียเป็นสีขาว
เอนไซม์ย่อยสารตั้งต้น
ได้สารสีฟ้า ทำ�ให้
มองเห็นโคโลนีของ
แบคทีเรียเป็นสีฟ้า
พลาสมิดที่ไม่มี DNA แทรก
บริเวณยีน
Lac
Z ถูกใส่เข้าไป
ในเซลล์แบคทีเรีย
มีการแสดงออกของยีน
Lac
Z
และแบคทีเรียสร้างเอนไซม์ได้
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 6 | เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
ชีววิทยา เล่ม 2
154