Table of Contents Table of Contents
Previous Page  23 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 23 / 367 Next Page
Page Background

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

13

ในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ ผู้สอนสามารถออกแบบการสอนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับเนื้อหาที่

สอน สภาพห้องเรียน ความพร้อมของผู้สอนและผู้เรียน และบริบทอื่นๆ การยืดหยุ่นระดับการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้สามารถอธิบายได้

ดังตารางที่ ๑

ตารางที่ ๑

 ลักษณะจำ�เป็นของการสืบเสาะหาความรู้ในชั้นเรียนและระดับของการสืบเสาะหาความรู้

ลักษณะจำ�เป็น

๑. ผู้เรียนมีส่วนร่วม

ในประเด็นคำ�ถาม

ทางวิทยาศาสตร์

ผู้เรียนเป็นผู้ถามคำ�ถาม

ผู้เรียนเลือกคำ�ถามและ

สร้างคำ�ถามใหม่จากรายการ

คำ�ถาม

ผู้เรียนพิจารณาและ

ปรับคำ�ถามที่ครูถามหรือ

คำ�ถามจากแหล่งอื่น

ผู้เรียนสนใจคำ�ถามจาก

สื่อการสอนหรือแหล่งอื่นๆ

๒. ผู้เรียนให้ความสำ�คัญกับ

ข้อมูลหลักฐานที่สอดคล้อง

กับคำ�ถาม

ผู้เรียนกำ�หนดข้อมูล

ที่จำ�เป็นในการตอบคำ�ถาม

และรวบรวมข้อมูล

ผู้เรียนได้รับการชี้นำ�ในการ

เก็บรวบรวมข้อมูลที่จำ�เป็น

ผู้เรียนได้รับข้อมูล

เพื่อนำ�ไปวิเคราะห์

ผู้เรียนได้รับข้อมูล

และการบอกเล่าเกี่ยวกับ

การวิเคราะห์ข้อมูล

๓. ผู้เรียนอธิบายสิ่งที่ศึกษา

จากหลักฐานหรือข้อมูล

ผู้เรียนอธิบายสิ่งที่ศึกษา

หลังจากรวบรวมและ

สรุปข้อมูล/หลักฐาน

ผู้เรียนได้รับการชี้แนะ

ในการสร้างคำ�อธิบายจาก

ข้อมูลหลักฐาน

ผู้เรียนได้รับแนวทางที่

เป็นไปได้เพื่อสร้างคำ�อธิบาย

จากข้อมูลหลักฐาน

ผู้เรียนได้รับหลักฐาน

หรือข้อมูล

๔. ผู้เรียนเชื่อมโยง

คำ�อธิบายกับองค์ความรู้

ทางวิทยาศาสตร์

ผู้เรียนตรวจสอบแหล่งข้อมูล

อื่นและเชื่อมโยงกับคำ�อธิบาย

ที่สร้างไว้

ผู้เรียนได้รับการชี้นำ�เกี่ยวกับ

แหล่งข้อมูลและขอบเขต

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์

ผู้เรียนได้รับการแนะนำ�ถึง

ความเชื่อมโยงที่เป็นไปได้

ผู้เรียนได้รับการเชื่อมโยง

ทั้งหมด

๕. ผู้เรียนสื่อสารและ

ให้เหตุผลเกี่ยวกับ

การค้นพบของตน

ผู้เรียนสร้างข้อคิดเห็นที่มี

เหตุผลและมีหลักการ

เพื่อสื่อสารคำ�อธิบาย

ผู้เรียนได้รับการฝึกฝน

ในการพัฒนาวิธีการสื่อสาร

ผู้เรียนได้รับแนวทางกว้าง ๆ

สำ�หรับการสื่อสารที่ชัดเจน

ตรงประเด็น

ผู้เรียนได้รับคำ�แนะนำ�ถึง

ขั้นตอนและวิธีการสื่อสาร

ระดับการสืบเสาะหาความรู้

การจัดการเรียนรู้โดยผู้เรียน

มาก

น้อย

การชี้นำ�โดยครูหรือสื่อการสอน

น้อย

มาก