Table of Contents Table of Contents
Previous Page  26 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 26 / 367 Next Page
Page Background

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

16

ตารางที่ ๒

มาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละสาระสำ�หรับผู้เรียนแต่ละระดับ

มัธยมศึกษา

ตอนปลาย

มัธยมศึกษา

ตอนต้น

ประถมศึกษา

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑

เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต

กับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบ

ที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนำ�ความรู้ไปใช้

ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๒

เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำ�เลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และ

หน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำ�งานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำ�งานสัมพันธ์

กัน รวมทั้งนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๓

เข้าใจกระบวนการและความสำ�คัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม

ที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐานการเรียนรู้

๔. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำ�หนดสาระไว้ทั้งหมด ๔ สาระ ดังนี้

- สาระวิทยาศาสตร์ชีวภาพ

- สาระวิทยาศาสตร์กายภาพ

- สาระวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ

- สาระเทคโนโลยี

โดยแต่ละสาระมีมาตรฐานการเรียนรู้สำ�หรับผู้เรียน ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงระดับมัธยมศึกษา

ตอนปลาย ตามรายละเอียดที่แสดงไว้ดังตารางที่ ๒