ชีววิทยาของกล้วยไม้ดินนางอั้วน้อย (Habenaria dentata (Sw.) Schltr.)
ชื่อผู้ทำโครงงาน
กานต์สุดา เสลาหอม
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ดร.ประสิทธิ์ วังภคพัฒนวงศ์
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
จากการศึกษาชีววิทยาของกล้วยไม้ดินนางอั้วน้อย (Habenaria dentata) พบว่าดอกบานในเดือนพฤศจิกายน โดยการตูม บาน เหี่ยวของแต่ละดอกใช้เวลาประมาณระยะละ 7 วันและ 3-4 สัปดาห์จึงแตกเมล็ด ซึ่งอยู่ในเดือนมกราคม โดยต้นสูงตั้งแต่ 41.7-74.2 ซม. เฉลี่ย 54.6 ซม. ช่อดอกยาว 1.5-16.9 ซม. เฉลี่ย6.7 ซม.ให้ดอก 5-32 ดอก เฉลี่ย 13 ดอกต่อ 1 ช่อ แมลงที่เกี่ยวข้องมีมดดำ ผีเสื้อกะทกรกแดง (Cethosia biblis perakana Fruhstorfer,1912) แมลงวัน ต่อ ชันโรง เพลี้ย และผีเสื้อจ่า (Athyma selenophora amharina)มีเกสรถูกผสมเพิ่มขึ้นในเวลากลางคืน 56.5 % จากการทดลองครอบตาข่ายกันแมลง สรุปได้ว่านางอั้วน้อยเป็นพืชที่ผสมตัวเอง (self-pollination) แต่เปิดโอกาสให้แมลงผสมเกสรในเวลากลางคืน
คำสำคัญ
กล้วย,ไม้,ดิน,นา,งอั้ว,น้อย
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
กานต์สุดา เสลาหอม
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5828 ชีววิทยาของกล้วยไม้ดินนางอั้วน้อย (Habenaria dentata (Sw.) Schltr.) /project-physics/item/5828-habenaria-dentata-sw-schltrเพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (77384)
ให้คะแนน
ได้ทำการทดลองเดินสารละลายเกรด HCI และเบส NaOH ลงน้ำแตงคั้นทั้ง 5 ชนิด คือ แตงกวา แตงไทย แคนตาลูบ ...
Hits (75812)
ให้คะแนน
การศึกษาความหลากหลายของกล้วยไม้บริเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติบ่อน้ำซับและแก่งสามพันปี ...