ความเข้มรังสีแกมมาตามแนวทางหลวงหมายเลข 401 และ 4247
ชื่อผู้ทำโครงงาน
เจตรจันทร์ จันทร์นุ้ย
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
อ.คมฤทธิ์ วัฒนวาที
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
โครงงานทางฟิสิกส์เรื่องนี้เป็นการศึกษาความเข้มรังสีแกมมาตามแนวทางหลวงหมายเลข 401 และ 4247 เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลของความเข้มรังสีแกมมาในพื้นที่ศึกษา โดยใช้เครื่องสเปกโตร-มิเตอร์รังสีแกมมา GS-512 ผลการศึกษาพบว่าความเข้มข้นรังสีแกมมาเฉลี่ยที่มาจากโพแตสเซียมมีค่ามากที่สุดในบริเวณหินโคลนปนกรวดและมีค่าน้อยที่สุดในบริเวณหินปูนและปริมาณความเข้มข้นสมมูลเฉลี่ยของยูเรเนียมมีค่ามากที่สุดบริเวณของหินปูนและมีค่าน้อยที่สุดในเป็นบริเวณของหินโคลนปนกรวด ส่วนปริมาณความเข้มข้นสมมูลเฉลี่ยของทอเรียมมีค่ามากที่สุดในบริเวณของตะกอนที่ราบสะสมตัวโดยทางน้ำและมีค่าน้อยที่สุดในหินปูนและอัตราส่วน eTh/eU, K(%)/eTh และ K(%)/eU สามารถนำไปสู่การแบ่งแยกชนิดของหินบริเวณผิวดินได้
คำสำคัญ
เข้ม,รังสี,แกมมา
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
เจตรจันทร์ จันทร์นุ้ย
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5589 ความเข้มรังสีแกมมาตามแนวทางหลวงหมายเลข 401 และ 4247 /project/item/5589-401-4247เพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits (92332)
ให้คะแนน
กลอนเป็นความงามทางภาษาที่มีความประณีตงดงามซึ่งมีมาแต่โบราณ การแต่งกลอนนั้นไม่เพียงแต่อาศัยความรู้ ...
Hits (109312)
ให้คะแนน
แผ่นดับกลิ่นรองเท้าที่ได้ทำการทดลองนี้ได้มาจากการนำเส้นใยจากใบต้นธูปฤาษี ...
Hits (85850)
ให้คะแนน
เนื่องจากปัจจุบัน เกมการ์ดในคอมพิวเตอร์มักจะมีรูปแบบการควบคุมที่ใช้เพียงเมาส์ และคีย์บอร์ด ...