Table of Contents Table of Contents
Previous Page  75 / 254 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 75 / 254 Next Page
Page Background

ลำ�ดับทิศทางการแพร่ของ O

2

เป็นอย่างไร

A B C D E

บริเวณใดที่แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์มีผลต่อการแลกเปลี่ยนแก๊สของ O

2

E

ตำ�แหน่งใดที่มีออกซีฮีโมโกลบิน

E

ที่ตำ�แหน่ง A และ D บริเวณใดมีความดันย่อยของ CO

2

สูงกว่า

D

เมื่อนักท่องเที่ยวปีนภูเขาที่มีความ

สูงประมาณ 5,800 เมตรเหนือ

ระดับน้ำ�ทะเล อาจมีอาการปวด

ศีรษะ วิงเวียน อ่อนเพลีย และ

หายใจลำ�บาก นักเรียนคิดว่าเป็น

เพราะเหตุใด โดยใช้ข้อมูลอ้างอิงได้

จากในกราฟ

เมื่อเดินทางไปยังพื้นที่สูงเหนือระดับน้ำ�ทะเล ความดันอากาศจะลดลง ทำ�ให้ความดันย่อย

ของ O

2

ในบรรยากาศลดลง ความดันย่อยของ O

2

ในทางเดินหายใจ ถุงลม และหลอดเลือด

จึงลดลง ส่งผลให้ร่างกายได้รับO

2

ไม่เพียงพอ จึงมีอาการ altitude sickness เช่น ปวดศีรษะ

วิงเวียน อ่อนเพลีย และหายใจลำ�บาก ทั้งนี้หากค่อยๆ เดินทางไปยังพื้นที่สูงและใช้ระยะ

เวลาหนึ่ง ร่างกายจะมีการปรับตัวโดยเลือดจะสามารถรับ O

2

ได้ดีขึ้น ทำ�ให้ร่างกายได้รับ O

2

เพียงพอ

ชวนคิด

บรรยากาศ

อากาศที่หายใจเข้า

ถุงลม

หลอดเลือดอาร์เทอรี

หลอดเลือดเวน

ความดันย่อยของ O

2

(mmHg)

150

ระดับน้ำ�ทะเล

5,800 m เหนือระดับน้ำ�ทะเล

75

0

กราฟแสดงความดันย่อยของ O

2

เมื่อวัดในบรรยากาศและ

บริเวณต่าง ๆ ของร่างกาย ที่ความสูงระดับน้ำ�ทะเลและที่

ความสูง 5,800 เมตรเหนือระดับน้ำ�ทะเล

ที่มา: Peacock, A. J. (1998). Oxygen at

high altitude.

BMJ : British Medical

Journal

, 317 (7165), 1063-1066.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 14 | ระบบหายใจ

ชีววิทยา เล่ม 4

63