Table of Contents Table of Contents
Previous Page  54 / 283 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 54 / 283 Next Page
Page Background

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ระดับประถมศึกษา

44

ตารางที่ ๔

ระดับของการสอนวิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้

ขั้น

ระดับที่ ๑

ระดับที่ ๒

ระดับที่ ๓

การกำ�หนดปัญหา

กระบวนการแก้ปัญหา

แนวทางการแก้ปัญหา

ผู้สอนหรือหนังสือเรียนเป็น

ผู้กำ�หนดปัญหา

ผู้สอนหรือหนังสือเรียนเป็น

ผู้กำ�หนดวิธีการแก้ปัญหา

ผู้เรียนแก้ปัญหาตามวิธีการที่

กำ�หนดไว้

ผู้สอนหรือผู้เรียนเป็นผู้

กำ�หนดปัญหา

ผู้เรียนเป็นผู้ออกแบบ

การแก้ปัญหา

ผู้เรียนเป็นผู้แก้ปัญหา

การสืบเสาะหาความรู้ในห้องเรียนสามารถทำ�ได้หลากหลายระดับ ตั้งแต่การที่ผู้สอนเป็นผู้กำ�หนดการสำ�รวจตรวจสอบของผู้เรียน

เพื่อตรวจสอบยืนยันสิ่งที่รู้มาแล้วไปจนถึงการที่ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนออกแบบการสำ�รวจตรวจสอบอย่างอิสระเพื่อสำ�รวจปรากฏการณ์

ที่ยังไม่สามารถอธิบายได้

การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยให้ผู้เรียนใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบ่งเป็น ๓ ระดับ คือ

๑. การสืบเสาะแบบกำ�หนดโครงสร้าง

๒. การสืบเสาะแบบกึ่งกำ�หนดโครงสร้าง

๓. การสืบเสาะไม่กำ�หนดโครงสร้าง

โดยบทบาทของผู้สอนและผู้เรียนแต่ละระดับมีความแตกต่างกัน ดังแสดงในตารางต่อไปนี้

การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แต่ละแบบนั้นมีข้อดีและข้อจำ�กัดที่แตกต่างกัน ผู้สอนต้องพิจารณา

ระดับของการสืบเสาะหาความรู้ตามความเหมาะสมของเนื้อหา เวลาในการจัดการเรียนรู้ ความสามารถของผู้เรียน บริบทของห้องเรียนและ

โรงเรียน รวมถึงความมั่นใจของตัวผู้สอนเอง

ระดับของการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์

ผู้เรียนเป็นผู้กำ�หนดปัญหา

ผู้เรียนเป็นผู้ออกแบบ

การแก้ปัญหา

ผู้เรียนเป็นผู้แก้ปัญหา