3.3 ถ้าจะใช้การทดลองในลักษณะนี้ตรวจสอบว่าแสงมีผลต่อการคายน้ำ�หรือไม่
จะดัดแปลงการทดลองนี้อย่างไร
ทำ�การทดลอง 2 ชุดการทดลอง โดยจัดเฉพาะหลอดทดลองที่ 1 และ 2 ในแต่ละชุด
การทดลอง ดังนี้
ชุดการทดลองที่ 1 ทำ�ในที่มีแสง
ชุดการทดลองที่ 2 ทำ�ในที่มืด
4. จงอธิบายว่าเหตุใดจึงใช้ชุดการทดลองที่ 1 และ 2 ในรูปนี้ตรวจสอบสมมติฐานว่า
การคายน้ำ�ทำ�ให้เกิดการลำ�เลียงในต้นพืช
ในชุดการทดลองที่ 1 ไม่มีการสูญเสียน้ำ� จะเห็นได้ว่าระดับน้ำ�และปรอทในหลอดแก้ว
ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ส่วนชุดการทดลองที่ 2 แสดงการที่พืชสูญเสียน้ำ�จากการคายน้ำ� ทั้งนี้
เมื่อพืชมีการสูญเสียน้ำ�จากการคายน้ำ� น้ำ�ในหลอดแก้วจะถูกดึงเข้าแทนที่น้ำ�ในต้นพืช
ทำ�ให้ปรอทในอ่างถูกดึงเข้าสู่หลอดแก้ว ดังเห็นได้จากระดับของปรอทในหลอดแก้วที่สูงขึ้น
ภายในต้นพืชจึงสามารถลำ�เลียงน้ำ�จากด้านล่างขึ้นสู่ด้านบนเพื่อทดแทนน้ำ�ที่สูญเสียไป
จากการคายน้ำ�ได้โดยอาศัยแรงดึงจากการคายน้ำ� แรงโคฮีชัน และแรงแอดฮีชัน
1
1
2
2
จุกยาง
ไอน้ำ�
หลอดแก้ว
เมื่อเวลาผ่านไป
ปรอท
น้ำ�
น้ำ�
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 10 | การลำ�เลียงของพืช
ชีววิทยา เล่ม 3
148