10.4.2 กลไกการลำ�เลียงอาหาร
ครูใช้คำ�ถามเพื่อนำ�นักเรียนเข้าสู่เนื้อหาดังนี้
การลำ�เลียงอาหารเหมือนหรือแตกต่างจากการลำ�เลียงธาตุอาหารหรือไม่ อย่างไร
อาหารในโฟลเอ็มมีการเคลื่อนย้ายจากใบซึ่งเป็นบริเวณที่สร้างอาหารไปยังส่วนต่าง ๆ
ของลำ�ต้นได้อย่างไร
โดยครูให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันพร้อมทั้งศึกษาข้อมูลแบบจำ�ลองการลำ�เลียงในโฟลเอ็มของ
มึนช์และรูป 10.16 ในหนังสือเรียน นักเรียนควรสรุปได้ว่า การลำ�เลียงอาหารแตกต่างจากการลำ�เลียง
ธาตุอาหาร โดยอาหารจะลำ�เลียงจากแหล่งสร้างไปแหล่งรับผ่านทางโฟลเอ็ม ส่วนการลำ�เลียงธาตุ
อาหารส่วนใหญ่จะลำ�เลียงจากรากไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของลำ�ต้นผ่านทางไซเล็ม โดยอาหารที่พืชสร้างขึ้น
บริเวณใบจะถูกลำ�เลียงเข้าทางซีฟทิวบ์ของโฟลเอ็ม ซีฟทิวบ์ที่บริเวณแหล่งสร้างจึงมีความดันสูงขึ้น
เนื่องจากน้ำ�จากเซลล์บริเวณข้างเคียงแพร่เข้ามา ทำ�ให้สารละลายซึ่งมีซูโครสอยู่ถูกลำ�เลียงไปยัง
ซีฟทิวบ์บริเวณแหล่งรับได้ และการลำ�เลียงอาหารจะเกิดขึ้นตลอดเวลาได้ เนื่องจากความแตกต่าง
ของความดันระหว่างซีฟทิวบ์บริเวณแหล่งสร้างและซีฟทิวบ์บริเวณแหล่งรับ
ผลการทดลองที่ได้ในแต่ละรูปสัมพันธ์กับชุดการทดลองใด เพราะเหตุใด
ผลการทดลองที่ได้ในแต่ละรูปสัมพันธ์กับชุดการทดลองดังนี้
ผลการทดลอง A สัมพันธ์กับการทดลองชุด ก. เนื่องจากจากรูป A พบ
14
C ทั้งส่วนเหนือ
ตำ�แหน่ง X และใต้ตำ�แหน่ง Y แสดงว่า ไม่มีการทำ�ลายโฟลเอ็มที่ตำ�แหน่ง X และตำ�แหน่ง
Y
ผลการทดลอง B สัมพันธ์กับการทดลองชุด ข. เนื่องจากจากรูป B พบ
14
C ใต้ตำ�แหน่ง
Y แต่ไม่พบเหนือตำ�แหน่ง X แสดงว่า มีการทำ�ลายโฟลเอ็มที่ตำ�แหน่ง X
ผลการทดลอง C สัมพันธ์กับการทดลองชุด ค. เนื่องจากจากรูป C พบ
14
C ส่วนเหนือ
ตำ�แหน่ง X แต่ไม่พบใต้ตำ�แหน่ง Y แสดงว่า มีการทำ�ลายโฟลเอ็มที่ตำ�แหน่ง Y
ผลการทดลอง D สัมพันธ์กับการทดลองชุด ง. เนื่องจากจากรูป D ไม่พบ
14
C ทั้งส่วน
เหนือตำ�แหน่ง X และใต้ตำ�แหน่ง Y แสดงว่า มีการทำ�ลายโฟลเอ็มทั้งที่ตำ�แหน่ง X และ
ตำ�แหน่ง Y
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 10 | การลำ�เลียงของพืช
ชีววิทยา เล่ม 3
143