การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด
๔. ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบขับถ่ายในการกำ�จัดของเสียทางไต
๕. ตระหนักถึงความสำ�คัญของระบบขับถ่ายในการกำ�จัดของเสียทางไต โดยการบอกแนวทางในการปฏิบัติตนที่ช่วยให้ระบบขับถ่ายทำ�หน้าที่ได้อย่างปกติ
ด้านความรู้
๑. ระบบขับถ่ายมีอวัยวะที่เกี่ยวข้อง คือ ไต
ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะ
โดยไตทำ�หน้าที่กำ�จัดของเสีย เช่น ยูเรีย
แอมโมเนีย กรดยูริก และสารที่เกินความ
ต้องการของร่างกาย เช่น น้ำ� โดยขับออกมา
ในรูปของปัสสาวะ
๒. ระบบขับถ่ายเป็นระบบที่มีความสำ�คัญต่อ
ร่างกายระบบหนึ่ง เราจึงควรดูแลรักษา
อวัยวะของระบบขับถ่ายให้ทำ�หน้าที่อย่าง
เป็นปกติ ซึ่งทำ�ได้หลายวิธี เช่น หลีกเลี่ยง
การรับประทานอาหารที่มีรสเค็มจัด การดื่ม
น้ำ�สะอาดให้เพียงพอ
หมายเหตุ:
ระบบขับถ่ายในตัวชี้วัดนี้ จะเน้นการทำ�งาน
ของไต แต่ยังไม่ลงเนื้อหาลึก เนื่องจากมีเรียน
อย่างละเอียดใน ม.ปลาย
๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับอวัยวะและการทำ�งาน
ของระบบขับถ่าย โดยใช้วิธีการต่างๆ เช่น การสนทนาซักถาม การสังเกต
รูปแบบจำ�ลอง ๓ มิติ หรือภาพเคลื่อนไหวทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูล
๒. นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น หนังสือ เอกสาร เว็บไซต์
ต่างๆ เกี่ยวกับอวัยวะ รูปร่าง ลักษณะ หน้าที่และการทำ�งานของอวัยวะใน
ระบบขับถ่าย รวบรวมข้อมูล บันทึก และนำ�เสนอข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ
เช่น การวาดภาพ การใช้แบบจำ�ลอง ๓ มิติ จัดทำ�สื่อมัลติมีเดีย
๓. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่า ระบบขับถ่ายมีอวัยวะที่
เกี่ยวข้อง คือ ไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะ แต่ละอวัยวะทำ�
หน้าที่ร่วมกันเพื่อกำ�จัดของเสียออกจากร่างกาย โดยมีไตเป็นอวัยวะหลัก
ในการกำ�จัดของเสีย เช่น ยูเรีย แอมโมเนีย กรดยูริก และสารที่เกิน
ความต้องการของร่างกาย เช่น น้ำ� จะถูกขับออกมาในรูปของปัสสาวะ
๔. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเห็นความสำ�คัญของการดูแลรักษาระบบขับถ่าย โดย
ใช้สื่อต่าง ๆ เช่น สถานการณ์ ข้อมูล สถิติ หรือวิกฤตการณ์ปัญหาของคน
ไทยที่เป็นโรคเกี่ยวกับระบบขับถ่าย เช่น โรคไตวาย นิ่วในไต หรือโรคไต
เรื้อรัง เพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบขับถ่าย
๕. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับตัวอย่างสถานการณ์ โรคที่เกี่ยวข้องกับ
ระบบขับถ่ายในปัจจุบันของประเทศไทย รวมถึงแนวทางในการดูแลรักษา
ระบบขับถ่ายจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หน่วยงานทาง
ด้านสาธารณสุข รวบรวมข้อมูล นำ�เสนอผล
ด้านความรู้
๑. ระบุอวัยวะในระบบขับถ่าย รวมทั้งบรรยายรูปร่าง
ลักษณะ หน้าที่และการทำ�งานร่วมกันของอวัยวะใน
ระบบขับถ่าย
๒. บอกแนวทางในการดูแลรักษาระบบขับถ่ายให้
ทำ�งานเป็นปกติ
161
วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒