Table of Contents Table of Contents
Previous Page  127 / 254 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 127 / 254 Next Page
Page Background

2. ถ้าชีพจรขึ้นอยู่กับวัย ดังนั้นชีพจรในวัยเด็กจะมีจำ�นวนครั้งต่อนาทีสูงกว่าในวัยผู้ใหญ่

ตัวแปรต้น

อายุ

ตัวแปรตาม

ชีพจร

ตัวแปรควบคุม เพศ น้ำ�หนัก สุขภาพ

วิธีการทดลอง

วัดชีพจรตามที่ออกแบบไว้ แล้วบันทึกข้อมูลลงในตาราง

ตัวอย่างตารางบันทึกข้อมูล

อายุ (ปี)

ชีพจร (ครั้ง/นาที)

เพศหญิง

เพศชาย

1-5

6-10

11-15

16-20

21-25

26-30

มากกว่า 30 ปีขึ้นไป

หมายเหตุ ตัวแปรควบคุมเรื่องน้ำ�หนักอาจแบ่งเป็นช่วงของน้ำ�หนัก ส่วนสุขภาพคือ ไม่มีโรคประจำ�ตัว เช่น

โรคความดันเลือดสูง โรคหัวใจ

ครูให้นักเรียนศึกษากราฟแสดงคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ดังรูป15.9 ในหนังสือเรียนการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

และกราฟแสดงคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ทั้งนี้ครูชี้ให้นักเรียนเห็นว่าคลื่นไฟฟ้าหัวใจของมนุษย์สามารถบอกถึง

การทำ�งานที่ปกติของหัวใจได้ ซึ่งแพทย์สามารถนำ�ข้อมูลนี้ไปใช้ในการตรวจสอบการทำ�งานของหัวใจ

และวินิจฉัยโรคได้

หลังจากนั้นให้นักเรียนศึกษารูป 15.10 ในหนังสือเรียน แล้วร่วมกันอภิปรายโดยใช้คำ�ถามใน

หนังสือเรียนซึ่งมีแนวการตอบคำ�ถามดังนี้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 15 | ระบบหมุนเวียนเลือดและระบบน้ำ�เหลือง

ชีววิทยา เล่ม 4

115