รายการ
ปริมาณต่อกลุ่ม
8. ไม้จิ้มฟันหัวแบน
9. กระดาษเยื่อ
10. ไม้บรรทัดพลาสติกใส
11. น้ำ�
12. สารละลายไอโอดีนความเข้มข้น 2%
13. สารละลายโซเดียมคลอไรด์ 2 หรือ 3%
14. เอทิลแอลกอฮอล์ 70%
15. สไลด์ตัวอักษร
16. หอมแดงหรือหอมใหญ่
17. เยื่อบุด้านในข้างแก้ม
18. สาหร่ายหางกระรอก
19. พลานาเรีย ไรแดง หรือสัตว์น้ำ�ขนาดเล็ก*
4 อัน
1 ม้วน
1 อัน
1 ขวด
1 ขวด
1 ขวด
1 ขวด
1 แผ่น
3 หัว
จากผู้แทนกลุ่ม
1-2 ต้น
2-3 ตัว
*เลือกใช้ชนิดเดียว
การเตรียมล่วงหน้า
ครูมอบหมายให้นักเรียนนำ�ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในกิจกรรม 3.1 ได้แก่ หอมแดงหรือหอมใหญ่
สาหร่ายหางกระรอก พลานาเรีย กรณีที่ไม่สามารถหาพลานาเรียได้ อาจใช้ไรแดงหรือสัตว์น้ำ�
ขนาดเล็กแทน หรือครูอาจเป็นผู้เตรียมสิ่งมีชีวิตทั้งหมดและวัสดุอุปกรณ์นี้เอง และมอบหมาย
ให้นักเรียนศึกษาวิธีการใช้ การดูแล และเก็บรักษากล้องจุลทรรศน์ใช้แสงทั้งสองชนิดใน
ภาคผนวก
ครูอาจใช้ภาพสไปโรไจราในภาพนำ�บทเพื่อทบทวนความรู้เดิม เรื่องโครงสร้างพื้นฐานของ
เซลล์ว่า ประกอบด้วย ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส พร้อมทั้งชี้ให้นักเรียน
สังเกตโครงสร้างเซลล์ดังกล่าวขณะที่ศึกษาตัวอย่างต่าง ๆ ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ด้วย
ก่อนทำ�กิจกรรมครูอาจสาธิตวิธีการใช้ ดูแล และเก็บรักษากล้องจุลทรรศน์ตามขั้นตอนใน
ภาคผนวก
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 3 | เซลล์และการทำ�งานของเซลล์
ชีววิทยา เล่ม 1
162