1. จากสถานการณ์ที่กำ�หนด ให้ระบุปัญหาและเงื่อนไข
ปัญหา การเพาะถั่วงอกผู้เพาะไม่มีเวลารดน้ำ� และต้องการเพาะถั่วงอกให้มี 3 ลักษณะได้แก่
1.
ถั่วงอกที่มีลักษณะผอมยาว ตรง
2.
ถั่วงอกที่มีลักษณะอวบสั้น
3.
ถั่วงอกที่มีใบสีเขียว
ภายใต้เงื่อนไข ดังนี้
กำ�หนดให้ถั่วเขียวเริ่มต้น 0.5 กิโลกรัม และมีพื้นที่สำ�หรับเพาะถั่วงอก 0.5 ตารางเมตร ให้
ได้กำ�ไรจากการขายมากที่สุด และการเพาะถั่วงอกในครั้งนี้ผู้เพาะไม่มีเวลารดน้ำ�ด้วยตนเอง ซึ่ง
โดยทั่วไปถั่วงอกต้องการน้ำ�ทุก ๆ 2-3 ชั่วโมง ถั่วงอกที่เพาะได้ต้องมีลักษณะดังนี้
1.
ถั่วงอกที่มีลักษณะผอมยาว ตรง อย่างน้อย 0.5 กิโลกรัม
2.
ถั่วงอกที่มีลักษณะอวบสั้น อย่างน้อย 0.5 กิโลกรัม
3.
ถั่วงอกที่มีใบสีเขียว อย่างน้อย 0.5 กิโลกรัม
***โดยกำ�หนดให้ถั่วเขียว 0.5 กิโลกรัม สามารถเพาะเป็นถั่วงอกได้ประมาณ 3 กิโลกรัม
2. ออกแบบการทดลองและทดลองเพาะถั่วงอกเพื่อให้ได้ถั่วงอกตามลักษณะที่ต้องการ
2.1 ตัวแปรต้นของการทดลอง คือ
น้ำ�หรือความชื้น แก๊สออกซิเจน อุณหภูมิ แสง
2.2 ตัวแปรตามของการทดลอง คือ
ลักษณะของถั่วงอกทั้ง 3 แบบ ได้แก่
1. ถั่วงอกที่มีลักษณะผอมยาวตรง
2. ถั่วงอกที่มีลักษณะอวบสั้น
3. ถั่วงอกที่มีใบสีเขียว
2.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการงอกของเมล็ดพืชที่นำ�มาเพาะ
ปัจจัยภายนอกคือ
น้ำ�หรือความชื้น แก๊สออกซิเจน อุณหภูมิ แสง การพักตัวของเมล็ด โครงสร้างของเมล็ด
ปัจจัยภายในคือ
ฮอร์โมนพืช หรือสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
ใบบันทึกกิจกรรมถั่วงอกสร้างอาชีพ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 1 | การศึกษาชีววิทยา
ชีววิทยา เล่ม 1
68