ถั่วงอก ได้ผลตามลักษณะที่ต้องการหรือไม่ อย่างไร และในกรณีที่การเพาะถั่วงอกไม่
เป็นไปตามที่ได้ออกแบบไว้จะมีวิธีการปรับปรุงและแก้ไขการเพาะถั่วงอกอย่างไร
8.
จัดเตรียมข้อมูลที่ได้จากการเพาะถั่วงอกเพื่อนำ�เสนอโดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ หรือ
นำ�เสนอในรูปแบบอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
ขั้นนำ�เสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
9.
ครูให้นักเรียนนำ�เสนอและร่วมกันอภิปรายแนวคิดและวิธีการออกแบบในการเพาะ
ถั่วงอกตามลักษณะที่ต้องการ รวมทั้งระบุแนวทางปรับปรุงแก้ไขวิธีการเพาะถั่วงอก
10. ครูนำ�อภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการเพาะถั่วงอก และ
การเพาะเมล็ดพืชอื่น ๆ เช่น ถั่วเหลือง ทานตะวัน ถั่วลันเตา ว่าเหมือนหรือแตกต่าง
จากการเพาะถั่วงอกอย่างไร
การวัดผลประเมินผล
ประเมินจากผลงาน การใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ความสำ�เร็จของชิ้นงาน
การนำ�เสนอผลงาน และการตอบคำ�ถามในการทำ�กิจกรรม โดยมีอัตราส่วนการให้คะแนน ดังนี้
รายการประเมิน
เครื่องมือที่ใช้ประเมิน คะแนน (ร้อยละ)
ผลงาน
น้ำ�หนักของถั่วงอก และลักษณะ
ของถั่วงอกที่ได้
15
การออกแบบเชิงวิศวกรรม
ใบบันทึกกิจกรรม / ใบร่างการ
ออกแบบ
20
ความสำ�เร็จของชิ้นงาน
ใบประเมินชิ้นงาน
20
การนำ�เสนอผลงานและการสื่อสาร ใบประเมินการนำ�เสนอ
20
การวางแผนและความร่วมมือ
ในการทำ�งาน
ใบประเมินการวางแผนและ
ความร่วมมือ ในการทำ�งาน
20
การตอบคำ�ถามในการทำ�กิจกรรม
ใบบันทึกกิจกรรม
5
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 1 | การศึกษาชีววิทยา
ชีววิทยา เล่ม 1
65